ความสัมพันธ์ระหว่างกลไกการป้องกันทุจริตกับผลการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • สุมินตรา ภูเนตร 99/106 Pimanchon 2 phase2 Soi 17 Ropbueng Road Muang District, Khon Kaen 40000
  • อิงอร นาชัยฤทธิ์ คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • อุทิศ พงศ์จิรวัฒนา คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

กลไกการป้องกันทุจริต, ผลการดำเนินงาน, สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์และผลกระทบระหว่างกลไกการป้องกันทุจริตกับผลการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย จำนวน 90 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า กลไกการป้องกันทุจริต ด้านการควบคุมภายใน ด้านการตรวจสอบภายใน การเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลและกิจกรรมในองค์กรมีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบเชิงบวกกับผลการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ ผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยจะสามารถใช้เป็นแนวทางในการวางแผนควบคุมการป้องกันการทุจริตในองค์กร เพื่อช่วยให้การดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร

References

กรมบัญชีกลาง. (2556). แนวทางการตรวจสอบและป้องกันการทุจริตภาครัฐ. ค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2560, จาก https://www.excise.go.th/cs/groups/public/documents/document/mjaw/mdmy/~edisp/webportal162000 32042.pdf.

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2562). สถาบันอุดมศึกษาในสังกัด. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2562, จาก https://www.mhesi.go.th/home/index.php/service/45-education-service/96-higher-educationservice.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2562. ค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2562, จาก https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php? NewsID=51002&Key=news20.

กล้าหาญ ณ น่าน. (2559). การจัดการผลการปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

โกวิทย์ พวงงาม. (2559). การจัดการปัญหาการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

จันทนา สาขากร นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2557). การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน. กรุงเทพฯ : ทีพีเอ็น เพรส.

จิณห์ระพีร์ พุ่มสงวน. (2553). การตรวจสอบภายในภาครัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชื่นกมล มีศิลป์. (2560). การส่งเสริมการป้องกันการทุจริตภาครัฐด้วยกลยุทธ์การตรวจสอบภายในอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษา: สำนักงานกิจการยุติธรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตร์ การค้าระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ญาดา แก้วตา. (2556). สภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

ธนัยนันท์ ภัทริวิรยโภคิน. (2561). การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับบทบาทผู้ตรวจสอบภายในต่อการบริหารความเสี่ยงการทุจริตในองค์กร. วารสารการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 1(2), 478–483.

ปิยะธิดา อภัยภักดิ์. (2561). แนวทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นในหน่วยงานภาครัฐ. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 13(1), 1-3.

มรกต ศิริวัฒนาโรจน์. (2556). การทุจริตในการบริหารโรงพยาบาลภาครัฐของไทย: ศึกษาการบริหารยุทธศาสตร์เพื่อป้องกันการทุจริต. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2552). ระเบียบวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8. มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสารคาม.

สราวุธ ดวงจันทร์. (2560). ระบบการควบคุมภายในที่ดีและธรรมาภิบาลที่มีต่อผลการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2558). อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ. ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2558, จาก http://www.mua.go.th/Responsibilities.html#.

สำนักงานอัยการสูงสุด. (2562). คู่มือการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการของสำนักงานอัยการสูงสุดประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562. ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2562, จาก http://www.ago.go.th/news_62/kpr1_250462.pdf .

สุรวุฒิ ตั้งดี. (2558). การศึกษาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์,10(3), 115-123.

อุษณา ภัทรมนตรี. (2555). การตรวจสอบสมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จามจุรีโปรดักส์ จำกัด.

Aaker, D.A., Kumar, V., & Day, G. S. (2001). Marketing research (7th ed.). New York: John Wiley and Sons.

Black, K. (2006). Business statistics: for contemporary decision making (4th ed.). New York : John Wiley and Son.

Hair, J.F., Black, W.C., & Erson, R. E. (2006). Multivariate data analysis (6th ed.). New Jersey : Pearson.

Nunnally, J. (1978). Psychometric Theory. New York : McGraw-Hill.

Petrescu, D., & Tieanu, A. (2014). The role of internal audit in fraud prevention and detection. Procedia Economics and Finance, 16(1), 489–497. Retrieved from https://doi.org/10.1016/S2212-5671(14)00829-6.

Philip, T. (2018). Analyzing internal controls of SMEs in the retail sector: a case study of grocers in the Caribbean. Retrieved from https://search.proquest.com/docview/2075877379?accountid=50152.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03/31/2021

How to Cite

ภูเนตร ส., นาชัยฤทธิ์ อ. ., & พงศ์จิรวัฒนา อ. . (2021). ความสัมพันธ์ระหว่างกลไกการป้องกันทุจริตกับผลการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 13(1), 125–137. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/241268