กลยุทธ์การบริหารจัดการธุรกิจในยุคปกติวิถีใหม่ที่ส่งผลต่อความอยู่รอดของธุรกิจ : การศึกษาเชิงประจักษ์ของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดเลย
คำสำคัญ:
ปกติวิถีใหม่ , กลยุทธ์การวางแผนธุรกิจ , กลยุทธ์การจัดองค์กร , กลยุทธ์การควบคุมบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การบริหารจัดการธุรกิจในยุคปกติวิถีใหม่ที่ส่งผลต่อ
ความอยู่รอดของธุรกิจ : การศึกษาเชิงประจักษ์ของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดเลย โดยอาศัยปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ กลยุทธ์การวางแผนธุรกิจ กลยุทธ์การจัดองค์กร กลยุทธ์การชี้นำ และกลยุทธ์การควบคุม เพื่อก่อให้เกิดความอยู่รอดของธุรกิจ
โดยจะใช้การวิเคราะห์ถดถอยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและใช้ข้อมูลจากธุรกิจโรงแรมในจังหวัดเลย จำนวน 130 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ กรรมการผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้จัดการทั่วไปของโรงแรม ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า 3 มิติของกลยุทธ์การบริหารจัดการธุรกิจในยุคปกติวิถีใหม่ ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความอยู่รอดของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดเลย และที่ส่งผลกระทบ
เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติมากที่สุดคือ กลยุทธ์การควบคุม รองลงมาคือ กลยุทธ์การวางแผนธุรกิจ และกลยุทธ์
การจัดองค์กร
References
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2565). คำแนะนำการป้องกันควบคุมโรคไวรัส โคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 สำหรับสถานประกอบการโรงแรม. ค้นเมื่อ วันที่ 10 เมษายน 2565, จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia
กิรฐากร บัญรอด สุณิสา ผลโชติ และ รุษยา คำนวณ. (2565). แนวทางในการบริหารจัดการธุรกิจโรงแรมใน
ช่วงวิกฤตโควิด-19. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 15(1), 13-148.
จังหวัดเลย . (2565). ที่พัก โรงแรม รีสอร์ท. ค้นเมื่อ วันที่ 10 เมษายน 2565, จาก
http://www.loei.go.th/LW/index.php/en/2017-06-09-07-42-29/2017-06-09-07-46-47
ดารณี อาจหาญ และ สันติธร ภูริภักดี. (2564). กลยุทธ์การตอบสนองภาวะวิกฤตของธุรกิจโรงแรมในเขตกรุงเทพมหานครภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดไวรัสโควิด-19. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13(4), 82 – 97.
นวพร บุญประสม. (2559). มิติใหม่แห่งการท่องเที่ยวเพื่อรองรับกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้หญิงโสด. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์ บางกอก (สาขา มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์), 2(2), 124-132
ปิยพร อรุณเกรียงไกร. (2563). Future of Travel: อนาคตของการท่องเที่ยวอยู่ตรงไหนในยุคโควิด-19. ค้นเมื่อ วันที่ 10 เมษายน 2565, จาก https://www.creativethailand.org/view/article-read?article_id=32496&kabg=th
เมทนี มหาพรหม และ อมราวดี ไชยโย. (2563). การจัดการภาวะวิกฤติของธุรกิจที่พักแรมในประเทศไทย ภายใต้วิกฤตการณ์ COVID-19. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14(3), 20-32.
วัฒนา ทนงค์แผง และ ชวลีย์ ณ ถลาง. (2560). รูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็ก เขตพื้นที่
จังหวัดตราด. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 13(3), 83-96.
สัญญลักษณ์ เหมือนดาว. (2558). กลยุทธ์การจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ของธุรกิจโรงแรม : กรณีศึกษาโรงแรมในเครือ เกษมกิจ กรุ๊ป. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏส่วนสุนันทา, 2(2), 105-118.
สุชาติ อุทัยวัฒน์ กมลพร กัลยาณมิตร สถิต นิยมญาติ และ ทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัช. (2564). การบริหารจัดการภาวะวิกฤตธุรกิจโรงแรมไทย. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย, 8(2), 162-178.
Aaker, D. A., Kumar, V., & Day, G. S. (2001). Marketing research 7th ed. New York : John Wiley and Sons.
Abed, S. S. (2021). A literature review exploring the role of technology in business survival during the Covid-19 lockdowns. International Journal of Organizational Analysis, 1, 35-45.
Aburumman, A. A. (2020). COVID-19 impact and survival strategy in business tourism market: the example of the UAE MICE industry. Humanities and Social Sciences Communications, 7(1), 1-11.
Akinyele, S. T., & Fasogbon, O. I. (2010). Impact of strategic planning on organizational performance and survival. Research Journal of Business Management, 4(1), 73-82.
Armstrong, J. S., & Overton, T. S. (1979). Estimating nonresponse bias in mail surveys. Journal of Marketing Research, 14(3), 396-402.
Barney, J. B. (1999). Firm resources and sustained competitive advantage. Journal of Management, 17(1), 99-120.
Castrogiovanni, G. J. (1996). Pre-startup planning and the survival of new small businesses: Theoretical linkage. Journal of Management, 22(6), 801-822.
Hair, Jr. J. F., Babin, B. J., & Anderaon, R. E. (2010). Multivariate data analysis: a global perspective 7thed. New Jersey : Pearson Prentice Hall.
Hao, F., Park, E., & Chon, K. (2022). Social media and disaster risk reduction and management: How have reddit travel communities experienced the COVID-19 pandemic?. Journal of Hospitality & Tourism Research, 1, 33-45.
Hasan, M. M., Lobo, G. J., & Qiu, B. (2021). Organizational Capital, Corporate Tax Avoidance, and Firm Value. Journal of Corporate Finance, 70, 89-99.
Kaufman, H. (2017). The Limits of Organizational Change. Economics, Finance, Business & Industry, New York : Taylorfrancis.
Lau, A. (2020). New technologies used in COVID-19 for business survival: Insights from the Hotel Sector in China. Information Technology & Tourism, 22(4), 497-504.
Le, D., & Phi, G. (2021). Strategic responses of the hotel sector to COVID-19: Toward a refined pandemic crisis management framework. International journal of Hospitality Management, 94, 102808.
Lin, P. K. (2022). Survival strategies of the sharing economy from the pandemic to a new normal: A dynamic capabilities approach. Managerial and Decision Economics, 48(2), 22-25
Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. 3th ed. New York : McGraw-Hill.
Ortiz-Villajos, J. M., & Sotoca, S. (2018). Innovation and business survival: A long-term approach. Research Policy, 47(8), 1418-1436.
Pfeffer, J. & Salancik, G. R. (1978). The External Control of Organizations: A Resource Dependence Perspective. University of Illinois at Urbana-Champaign's Academy for Entrepreneurial Leadership Historical Research Reference in Entrepreneurship.
Porter, M. E. (1981). The contribution of industrial organization to strategic management. Academy of Management Review, 6, 609-620.
Singh, P., & Dey, B. L. (2022). Sustainability in the beer and pub industry during the COVID-19 period: An emerging new normal. Journal of Business Research, 141, 656-672.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารการบัญชีและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว