ความสัมพันธ์ระหว่างความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบัญชีในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ผู้แต่ง

  • สุพรรณี ทัพธานี คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ศุทธินี ปราชญ์ศรีภูมิ คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • เกสินี หมื่นไธสง คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ความซี่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน, ประสิทธิภาพการทำงาน, สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

บทคัดย่อ

              การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบัญชีในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงานบัญชีในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน  274 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ด้านความซื่อสัตย์ต่อตนเองเท่านั้นที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการทำงานอย่างมีนัยสำคัญ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความถดถอย เท่ากับ 0.127

Author Biography

สุพรรณี ทัพธานี, คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

118 หมู่ที่ 6 ซอย - ถนน ตำบลมิตรภาพ อ.แกดำ จ.มหาสารคาม 44190

084-8815297
nokdoll@gmail.com

References

กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ. (2551). แนวทางการพัฒนาจริยธรรมไทย. กรุงเทพฯ : การศาสนา.

กีรติ บุญเจือ. (2542). จริยศาสตร์สำหรับผู้เรียน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

ชุรีพร เมืองจันทร์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณการบัญชีบริหารกับประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีธุรกิจผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นิชาภัทร โพธิ์บาง. (2554). หนังสือเปิดขอบฟ้าคุณธรรมจริยธรรมปีที่ 2. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้.

บุษยมาศ แสงเงิน. (2555). ความซื่อสัตย์ (Integrity) ในการทำงาน. ค้นเมื่อ 18 มกราคม 2557, จาก http://www.gotoknow.org/posts/408036.

ประมวล พระตลับ. (2551). ผลกระทบของความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศศิวิมล มีอำพล. (2555). การบัญชีเพื่อการจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพฯ : อินโฟไมนิ่ง.

สมใจ ลักษณะ. (2546). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : คณะวิทยาการจัดการสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2558). สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2558, จาก http://www.vec.go.th.

สุคนธ์ ศรีอรุณ. (2554). หนังสือเปิดขอบฟ้าคุณธรรมจริยธรรมปีที่ 2. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้.

Aaker, D. V., Kumer V., Day, G. S. (2001). Marketing research (7th ed.). New York : John Wiley & Sons.

Black, K. (2006). Businesses statistics : For contemporary decision making. (4th ed.). USA : John Wiley & Sons.

Church, B. K. (2012). Shared interest and honesty in budget reporting. Accounting, Organizations and Society. 37,155-167.

Innes, R., & Arnab, M. (2013). Economic Inquiry. 51(1), 722-734.

Nunnally, J. G., & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory (3rd ed.). New York : McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01/20/2009

How to Cite

ทัพธานี ส., ปราชญ์ศรีภูมิ ศ., & หมื่นไธสง เ. (2009). ความสัมพันธ์ระหว่างความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบัญชีในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 10(1), 50–59. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/236153