วิเคราะห์การปรับอินทรีย์ 5 ให้สมดุลเพื่อการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา

Main Article Content

แม่ชีจงดี พรเจริญวิโรจน์
วิโรจน์ คุ้มครอง

บทคัดย่อ

บทความมีนี้วัตถุประสงค์ในการศึกษา 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาอินทรีย์ 5 ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา
เถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปรับอินทรีย์ 5 ให้สมดุลเพื่อการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาเป็นการวิจัยเชิงเอกสารโดยการศึกษาข้อมูลจากคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาทและเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง สรุปวิเคราะห์เรียบเรียงบรรยายพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า 1. อินทรีย์ 5 คือ ความเป็นใหญ่ หรือเป็นผู้ปกครองในสภาวธรรมที่เกิดร่วมก้นกับตนหรือเป็นใหญ่ในกิจการนั้น  สามารถทำให้สภาวธรรมที่เกิดขึ้นพร้อมกันกับตนนั้นต้องเป็นไปตามอำนาจของตนมี 5 ประการ คือ 1) ศรัทธา 2) วิริยะ 3) สติ 4) สมาธิ และ 5) ปัญญาและทำหน้าที่เจริญในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา2. ปรับอินทรีย์ 5 ให้สมดุลเพื่อการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา การจำแนกแยกแยะการปรับอินทรีย์ 2 คู่ให้เสมอกัน  คือ ศรัทธาสมดุลกับปัญญา สมาธิสมดุลกับวิริยะ ส่วนสตินั้นควรมีไว้ให้มากเพื่อทำหน้าที่ดูแลจิตใจในการกำหนดรู้

Article Details

How to Cite
พรเจริญวิโรจน์ แ. ., & คุ้มครอง ว. . (2025). วิเคราะห์การปรับอินทรีย์ 5 ให้สมดุลเพื่อการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา . วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 7(1), 49–56. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jemri/article/view/275522
บท
บทความวิจัย

References

ณัฎฐจิต เลาห์วีระ. (2555). ศึกษาการพัฒนาอินทรีย์ในอินทริยภาวนาสูตร(วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงณราชวิทยาลัย.

ปรียพร วิศาลบูรณ์, สุรัมภา รอดมณี, เนาวนิจ พึ่งจันทรเดช และ เบญญาภา ทนต์ประเสริฐเวช. (2566). จิตบําบัดตามแนวพุทธจิต: บทวิเคราะห์ในมิติทางการพยาบาล. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1), 120-140.

พระคันธสาราภิวงศ์. (2549). การเจริญสติปัฏฐาน. กรุงเทพฯ: วิบูลย์.

พระพุทธโฆสเถระ. (2554). วิสุทธิมรรค. สมเด็จพระพุฒาจารย์ อาจ อาสถมหาเถร แปลและเรียบเรียง. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

พระมหาศุภวัฒน์ บุญทอง, กฤติยา ถ้ำทอง และ ชำนาญ เกิดช่อ. (2565). การปรับสมดุลอินทรีย์ 5 ตามธาตุทั้ง 4 ในทางพระพุทธศาสนา. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 760-775.

พระมหาสุวรรณพงษ์ ศรีเมือง. (2556). ศึกษาอินทรีย์ 5 และการปรับอินทรีย์ 5 ในการเจริญวิปัสสนาภาวนา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระอรรถชาติ เดชดํารง. (2566). การแบ่งช่วงชั้นทางสังคม : มุมมองของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพระพุทธศาสนา. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 5(2), 481-492.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Damnoen, P. S., Siri, P., Supattho, P. S., & Kaewwilai, K. (2021). The Development of Student Characteristics in According to the Nawaluk Framework of the Buddhist integration of Buddhapanya Sri Thawarawadee Buddhist College. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 5(2), 126–135.