ปฏิสัมภิทา 4 : แนวทางการประยุกต์ใช้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

Main Article Content

พระภาวนามังคลาจารย์ ธนมงคล นาประกอบ
พระมหาสมบูรณ์ ทองแก้ว
สมชัย ศรีนอก

บทคัดย่อ

การพัฒนากรอบแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหลักปฏิสัมภิทา 4 สำหรับคณะสงฆ์ ประกอบด้วย 1) อัตถปฏิสัมภิทา ปรีชาแจ้งในอรรถ  2) ธัมมปฏิสัมภิทา เข้าใจในธรรม  (3) นิรุตติปฏิสัมภิทา ช่ำชองในภาษา และ 4) ปฏิภาณปฏิสัมภิทา คิดแก้ปัญหาทันการณ์ การเผยแผ่ของคณะสงฆ์ จำเป็นต้องใช้หลักปฏิสัมภิทา 4 เพื่อให้เข้าถึงจิตใจของประชาชน เพื่อชักจูงผู้คนทุกเพศทุกวัยให้มาสนใจพระพุทธศาสนาอย่างจริงจังได้กว้างขวาง เพื่อให้คนในชุมชนเข้าถึงได้อย่างง่าย เป็นประโยชน์ต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหลักปฏิสัมภิทา 4 สำหรับคณะสงฆ์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ปรียพร วิศาลบูรณ์, สุรัมภา รอดมณี, เนาวนิจ พึ่งจันทรเดช และ เบญญาภา ทนต์ประเสริฐเวช. (2566). จิตบำบัดตามแนวพุทธจิต: บทวิเคราะห์ในมิติทางการพยาบาล. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1), 120-140.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2551). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสตร์ คำวัด. (พิมพ์ครั้งที่ 3)., กรุงเทพฯ: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2546). รุ่งอรุณของการศึกษา เบิกฟ้าแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.

พระอรรถชาติ เดชดำรง. (2566). การแบ่งช่วงชั้นทางสังคม : มุมมองของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพระพุทธศาสนา. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 5(2), 481-492.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. (พิมพ์ครั้งที่ 47). กรุงเทพฯ: เพ็ทแอนด์โฮม.

สิริวัฒน์ คำวันสา. (2534). ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Damnoen, P. S., Siri, P., Supattho, P. S., & Kaewwilai, K. (2021). The Development of Student Characteristics in According to the Nawaluk Framework of the Buddhist integration of Buddhapanya Sri Thawarawadee Buddhist College. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 5(2), 126–135.

Tan, C. C., & Damnoen, P. S. (2020). Buddhist Noble Eightfold Path Approach in the Study of Consumer and Organizational Behaviors. Journal of MCU Peace Studies, 8(1), 1–20.