การเสริมสร้างความรู้และทักษะทางอาชีพให้พร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ด้วยการออกแบบการเรียนรู้แบบ Micro-credential
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนต่อการใช้คอร์สออนไลน์ในรูปแบบ Microcredential รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ พื้นที่วิจัยจังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ จำนวน 400 คน ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเครื่องมือที่เป็นแบบสอบถาม โดยทดสอบความน่าเชื่อถือของแบบสอบถามโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า เท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐานหาค่าเฉลี่ยคะแนนความคิดเห็นและแสดงส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญและมีความคิดเห็นเกี่ยวกับโอกาสผู้เรียน การใช้งานออนไลน์ ด้านปฏิสัมพันธ์ การแลกเปลี่ยนความรู้ และเนื้อหาบทเรียน ตามลำดับ ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหน่วยงานและองค์กร โดยควรให้ความสำคัญกับเนื้อหาการพัฒนาทักษะอาชีพให้ตรงกับความต้องการของหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กฤติกา ตันประเสริฐ. (2564). Microcredential สําหรับการพัฒนาบุคลากรด้านการศึกษา. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี, 1(1), 33 – 43.
จารุมน หนูคง และ ณมน จีรังสุวรรณ. (2558). การออกแบบรูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานร่วมกับการสอนแบบ MOOC เพื่อพัฒนาทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 6(1), 405 – 113.
ฐิตินันท์ ดาวศรี, พรนภา ทิพย์กองลาด, พีรพล เข็มผง, สมเชาว์ ดับโศรก, สุทธิดา เพ่งพิศ, วรวัฒน์ วิศรุตไพศาล และ จันทรัศม์ ภูติอริยวัฒน์.2564. แนวทางการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 11(1), 59-74.
ณฐภัทร ติณเวส และ ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2559). การศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC ของอุดมศึกษาไทย. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(3), 1463 – 1479.
ดํารัส อ่อนเฉวียง, ดวงพร ธรรมะ และศรินนา ศิริมาตย์. (2565). การศ์ึกษาสภาวะความต้องการการจัดการเรียนการสอนแบบเปิด (MOOCs) สําหรับระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก. วารสารวิจัยรําไพพรรณี, 16(3), 174 – 186.
เบญญศิกานต์ กาญจนาธนเสฏฐ์ และชัยยุทธ ชิโนกุล. (2564). การศึกษากลวิธีการเรียนรู้ออนไลน์ระบบเปิด (MOOCs) ของคนเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 21(2). 1 – 12.
สุชาดา บุญเรือง, ภัทรารัช แก้วพลายงาม และพรพนา ศรีสถานนท์. (2564). การตัดสินใจใช้บริการเรียนรู้ในระบบเปิด Thai MOOC. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(38), 241 – 252.
อาภาพร กลิ่นเทศ. (2565). มู้กส์บทเรียนออนไลน์: การให้ที่ไม่มีสิ้นสุด. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11(1). 398 – 452.
Ahsan, K., Akbar, S., Kam, B., & Abdulrahman, M. D. (2023). Implementation of Microcredential in Higher Education: A Systematic Literature Review. Education and Information Technologies, 28, 13505–13540. https://doi.org/10.1007/s10639-023-11739-z
Oliver, B. (2019). Making Microcredential Work for Learners, Employers and Providers. Australia: Deakin University.
Phumphongkhochasorn, P., Damnoen, S., Tuwanno, P. D. M., Srichan, P. W., & Udomdhammajaree, P. (2022). Educational Quality Assurance and School Management Standards According to International. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 6(1), 1–16. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ajrc/article/view/244349