การส่งเสริมอัตลักษณ์ผู้เรียนด้วยการนิเทศการศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการส่งเสริมอัตลักษณ์ด้วยการนิเทศการศึกษา ประกอบด้วย 1) การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสม 2) การสร้างและปรับปรุงหลักสูตรการเรียนรู้ 3) การใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ 4) การส่งเสริมการเรียนรู้แบบร่วมมือ และ 5) การโค้ชของผู้นิเทศการศึกษา เป็นการส่งเสริมอัตลักษณ์ผู้เรียน 4 ด้าน ได้แก่ 1) รู้หน้าที่ 2) มีจิตสาธารณะ 3) รักษ์สิ่งแวดล้อม 4) เป็นนวัตกร ที่พร้อมรับทุกการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการนิเทศการศึกษาที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันพัฒนาให้กับผู้เรียน ในหลายมิติทั้งส่วนบุคคลและสังคม ส่งผลให้ผู้เรียน รู้หน้าที่ มีวินัย มีจิตสาธารณะ สามารถปรับตัว และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีทักษะการเรียนรู้ รักษ์สิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และค่านิยมที่ดี สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ และสร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า มีประโยชน์ต่อโรงเรียน สังคม และเป็นผู้เรียนที่มีคุณภาพต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จามรี เชื้อชัย. (2563). การพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา. วารสารการบริการนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(7), 177-191.
ชมัยพร รัตนพรหม. (2562). รูปแบบการนิเทศที่มีประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(1), 3-10.
ทิพวรรณ ถาวรโชติ. (2564). รูปแบบการนิเทศด้วยเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา(วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ธนัฏฐา วุฒิวณิชย์. (2563). รูปแบบการนิเทศที่มีประสิทธิภาพต่อการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนเทศบาลวัดท่าสะต๋อย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม, 5(2), 302-333.
พาสนา ชลบุรพันธ์. (2560). รูปแบบการนิเทศการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน(วิทยานิพนธ์ศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
Beauchamp, M. R., & Thomas, J. O. (2009). Understanding Teacher Identity an Overview of Issues in the Literature and Implications for Teacher Education. Cambridge Journal of Education, 39(2), 175-189.
Bush, T., & Bell, L. (2002). The Principles and Practice of Educational Management. New York: Sage.
Eccles, J. S., & Wigfield, A. (2002). Motivational Beliefs, Values, and Goals. Annual Review of Psychology, 53(1), 109-132.
Freire, P. (2005). Pedagogy of the Oppressed. New York: The Continuum International Publishing Group.
Fullan, M. (2001). Leading in a Culture of Change. New York: John Wiley & Sons.
Gee, J. P. (2000). Identity As an Analytic Lens for Research in Education. Review of research in education, 25(1), 99-125.
Glickman, C. D. Gordon, S. P., & Ross-Gordon, J. M. (2010). Supervision and Instructional Leadership A Developmental Approach. (8th ed.). Boston: Allyn and Bacon.
Glanz, J. (2022). Personal Reflections on Supervision as Instructional Leadership: From Whenceit Came and to Where Shall it Go? Journal of Educational Supervision, 4(3), 66-81.
Halstead, J. M., & Taylor, M. J. (2000). Education in the Age of Identity. Oxfordshire: Routledge.
Hall, G. E., & Hord, S. M. (2001). Implementing Change: Patterns, Principles, and Potholes. (2nd ed.). Boston: Allyn and Bacon.
Hammond, D. (2010). The Science of Synthesis: Exploring the Social Implications of General Systems Theory. Colorado: University Press of Colorado.
Harter, S. (2012). The Construction of The Self: Developmental and Sociocultural Foundations. New York: Guilford Press.
Ministry of Education, Singapore. (2021). Desired Outcomes of Education. Retrieved May 2, 2566, from https//www.moe.gov.sg/education/education-system/desired-outcomes
Segerholm, C., & Hult, A. (2018). Learning From and Reacting to School Inspection–Two Swedish Case Narratives. Scandinavian Journal of Educational Research, 62(1), 125-139.
Vygotsky, L. S. (1978). Mind In Society: The Development of Higher Psychological Processes. Cambridge: Harvard University Press.
Wenger, E. (1998). Communities of Practice Learning, Meaning, and Identity. Cambridge: Cambridge University Press.