พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาให้เป็นองค์การแห่งนวัตกรรมการศึกษา ด้วยแนวคิดเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ

Main Article Content

กุลพัทธ์ กุลชาติดิลก
อมรรัตน์ พันธ์งาม
สมใจ สืบเสาะ

บทคัดย่อ

การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาให้เป็นองค์การแห่งนวัตกรรมการศึกษาด้วยแนวคิดเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ เป็นการศึกษาถึงแนวคิด ปัจจัย องค์ประกอบขององค์การแห่งนวัตกรรมการศึกษาและเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) โดยบทความนี้จะแสดงถึงความสอดคล้องระหว่างองค์ประกอบองค์การแห่งนวัตกรรมการศึกษาและเกณฑ์ EdPEx รวมทั้งแนวทางในการนำเกณฑ์ EdPEx ที่ประกอบด้วย 1. การนำองค์กร 2. กลยุทธ์ 3. ลูกค้า 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5. บุคลากร 6. ระบบปฏิบัติการ และ 7. ผลลัพธ์ โดยการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาให้เป็นองค์การแห่งนวัตกรรมการศึกษาด้วยเกณฑ์คุณภาพดังกล่าวนั้น ต้องเริ่มจากผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ มีกลยุทธ์ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ที่ตอบสนองต่อนักศึกษา มีการใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์และรวบรวมข้อมูล มีการพัฒนาบุคลากรให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และมีระบบปฏิบัติการหรือระบบการทำงานที่รวดเร็วและทันสมัยจนเกิดเป็นผลลัพธ์นวัตกรรม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2565). วิกฤตเด็กเกิดใหม่น้อย..กระทบธุรกิจการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2565 จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/986332.

กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ. (2565). ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร ในประเทศไทย สถานการณ์และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2565 จากhttp://social. nesdc.go.th/social/Portals/0/Documents/1000_UNFPA_rev_Policy%20Brief%20Thai_200411_69.pdf.

ขวัญชนนก แสงท่านั่ง. (2563). รูปแบบการพัฒนาสถานศึกษาสู่องค์กรแห่งนวัตกรรมสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(7), 153-168.

จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์.

จันทนา อุดม และคณะ. (2563). การเปลี่ยนผ่านองค์กรสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(1), 81-90.

ธนัสถา โรจนตระกูล. (2563). การพัฒนารูปแบบการเป็นองค์การแห่งนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฎในประเทศไทย. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์, 3(2), 1-17.

พรสวัสดิ์ ศิรศาตนันท์. (2555). ภาวะผู้นําทางการศึกษา. จันทบุรี: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.

ไพโรจน์ บุตรชีวัน. (2559). แนวทางการนำรูปแบบองค์กรแห่งนวัตกรรมเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืนไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 11(sp), 84-91.

ภรดล ดุลณกิจ และคณะ. (2562). ตัวแบบคุณลักษณะการเป็นองค์การนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 7(5), 1376-1390.

ภารดี อนันต์นาวี และสิทธิพร ประวัติรุ่งเรือง. (2565). การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบองค์กรนวัตกรรมทางการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารรัชต์ภาคย์, 16(45), 487-504.

ภารดี อนันต์นาวี. (2564). องค์กรนวัตกรรมทางการศึกษา:การบริหารจัดการ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, 10(2), 10-21.

วรินทร ตะนะตี. (2564). ภาวะผูนํา : การพัฒนาองคประกอบและการจัดการสถานการณการแพรระบาดของโควิด 19. วารสารสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 4(1), 39-48.

วาทินี พูลทรัพย์. (2563). องค์ประกอบการบริหารโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา(วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิจารณ์ พานิช. (2548). การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการจัดการ ความรู้เพื่อสังคม.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2557). ภาวะผู้นำแบบบริการ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีและงานวิจัย. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2564). เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ฉบับปี 2563 – 2566. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชซิ่ง (มหาชน).

สำเริง อ่อนสัมพันธ์. (2563). องค์กรแห่งการเรียนรู้เชิงนวัตกรรม : ปัจจัยการบริหารองค์การยุคใหม่. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11(1), 215-230.

สุริศา ริมคีรี. (2562). การพัฒนาตัวบ่งชี้องค์การแห่งนวัตกรรมการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

องค์อร ประจันเขตต์. (2557) องค์กรแห่งนวัตกรรมการศึกษา ทางเลือกใหม่ของการบริหารการศึกษา. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(1), 45-51.

อนุพงษ์ ชุมแวงวาปี และคณะ (2561). การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์, 12(3), 207-219.

Phumphongkhochasorn, P., Damnoen, S., Tuwanno, P. D. M.., & Srichan, P. W. (2022). Educational Quality Assurance and School Management Standards According to International. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 6(1), 1–16.