นวัตกรรมทางสังคมเพื่อคุณภาพชีวิต

Main Article Content

พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ
ธัญธรณ์ อมรกิจภิญโญ
นเรศ สถิตยพงศ์
สมสมร วงศ์รจิต
ชวกิจ ทองนุ้ยพราหมณ์

บทคัดย่อ

นวัตกรรมทางสังคมเป็นนวัตกรรมรูปแบบหนึ่งที่อาจมีการใช้/ไม่ใช้เทคโนโลยีในการสร้างนวัตกรรม  โดยนวัตกรรมทางสังคมต้องเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ในสังคมเพื่อต้องการให้คนในสังคมมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น  ซึ่งจะส่งผลให้คนในสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี  การที่จะส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมทางสังคมนั้นต้องมีบริบทที่เอื้อ เช่น ภาครัฐต้องมีนโยบายการลดหย่อนภาษีให้กับภาคเอกชนสนใจที่ร่วม/สร้างนวัตกรรมทางสังคมโดยผ่านกระบวนการสร้างนวัตกรรมทางสังคม 6 ขั้นตอน  และสุดท้ายบทความขอนำเสนอตัวอย่างนวัตกรรมทางสังคมที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในด้านต่าง ๆ  เช่น ผู้สูงอายุ การแพทย์และสาธารณสุขไทย และการพัฒนาเศรษฐกิจ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ธีรวัฒน์ เหล่าสมบัติ. (2562). นวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation). สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2565, จาก https://social.nia.or.th/2019/article0001/

บงกช สุทัศน์ ณ อยุธยา. (2562). นวัตกรรมสังคม สร้างสุขด้วยการแบ่งปัน. เชียงใหม่: พงษ์สวัสดิ์การพิมพ์.

พรพจน์ ศรีดัน. (2564). โครงการนวัตกรรมทางสังคมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนา ผลิตภัณฑ์สู่การแข่งขันเชิงพาณิชย์ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิทยากร เชียงกูล. (2555). นวัตกรรมสังคม คืออะไร เพื่ออะไร. คอลัมน์ “ปฏิรูปประเทศไทยแบบไหนอย่างไร”กรุงเทพธุรกิจ.

สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ. (2562). สรุปภาพรวมข้อมูลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2565, จากhttps://www.rdpb.go.th/ rdpb/projectData/files/summary_roy_project62.pdf

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.(2565). ปี 2565 ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุเต็มตัว สสส.เสวนา ถกปัญหารับมือชีวิตบั้นปลาย ห่วงผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้น หนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมมือขับเคลื่อน. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2565, จาก https://www.tnnthailand.com/news/health

AP THAILAND. (2022). รวม 9 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อสุขภาพและชีวิตที่ดีกว่า. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2565, จาก https://www.apthai.com/th/blog/life-and-living/lifeandliving-innovations-for-older-adult

Thaisynergy. (2563). นวัตกรรมทางสังคม. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2565, จาก https://thaisynergy.org/ 2020/05/31

Howaldt, J., Butzin, A., Domanski, D., & Kaletka, C. (2014). Theoretical Approaches to Social Innovation – A Critical Literature Review. A deliverable of the project: Social Innovation: Driving Force of Social Change’ (SI-DRIVE). Dortmund: Sozialforschungsstelle.

Murray, R., Caulier-Grice, J., & Mulgan, G. (2010). The Open Book of Social Innovation. Retrieved October 30, 2022 from https://youngfoundation.org/wp-content/uploads/ 2012/10/

TEPSIE. (2014). Social Innovation Theory and Research: A Summary of the Findings from TEPSIE. A deliverable of the project: “The theoretical, empirical and policy foundations for building social innovation in Europe” (TEPSIE), European Commission – 7th Framework Programme, Brussels: European Commission, DG Research.