การแบ่งช่วงชั้นทางสังคม : มุมมองของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและพระพุทธศาสนา

Main Article Content

พระอรรถชาติ เดชดำรง

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์การแบ่งช่วงชั้นทางสังคมของมนุษย์ ซึ่งมี 4 รูปแบบได้แก่ ระบบทาส ระบบศักดินา ระบบวรรณะ และระบบชนชั้น ผ่านมุมมองของพระพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เปรียบเทียบแนวคิดของทั้ง 2 ศาสนาที่มีผลต่อแนวคิดของคนในสังคม ผลการศึกษาพบว่า การแบ่งช่วงชั้นทางสังคมทำให้เกิดความขัดแย้งในสังคม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมีอิทธิพลต่อการแบ่งวรรณะของคนในสังคมซึ่งฝังแน่นในระบบความคิดของผู้นับถือ แม้ในปัจจุบันก็ยังมีแนวคิดเรื่องการแบ่งวรรณะก็ยังคมมีอยู่ ส่วนพระพุทธศาสนามีมุมมองว่าคนในสังคมควรมีความเสมอภาคกัน วิธีลดความขัดแย้งคือ การฝึกฝนจิตใจให้สงบเพื่อจะได้เห็นโลกและชีวิตตรงไปตามความเป็นจริงว่าทุกคนเป็นเพื่อนร่วมทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตายเหมือนกัน มนุษย์จึงควรฝึกฝนจิตใจให้หลุดพ้นจากความทุกข์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. (2542). พุทธศาสนากับการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 25(2), 6-27.

ชวัลวิทย์ อรุณปราการ, นวลวรรณ พูลวสุพลฉัตร และ สรวิชญ์ วงษ์สอาด. (2565). การใช้บารมี 10 ในการพัฒนาตนเองและสังคม. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 4(1), 49-56

นิสาพร วัฒนศัพท์, ฐานิดา บุญวรรโณ และ ศิวาภรณ์ ไชยเจริญ. (2559). ช่วงชั้นทางสังคม ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมและการอธิบายถึงความเป็นประชากรกลุ่มเปราะบางในสังคม. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 10(4), 362-376.

ประเวศ อินทองปาน. (2564). ศาสนาเชิงวิเคราะห์และเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.

ผจงจิตต์ อธิคมนันทะ. (2523). การจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พระปลัดสมหวัง ศรีเพ็ญ และ วิโรจน์ คุ้มครอง. (2565). การวิเคราะห์ทุกข์ในอฆมูลสูตรที่มีความสัมพันธ์ต่อการเจริญวิปัสสนาภาวนา. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 654-663.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2532). พุทธศาสนากับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมหวัง แก้วสุฟอง. (2559). ระบบวรรณะ ปัญหาและทางออกในมุมมองของมหาตมะ คานธี และ ดร.บี.อาร์.อัมเบดการ์. วารสารปณิธาน, 12(2), 121-139.

Brennan C. (2018). Max Weber on Power & Social Stratification: An Interpretation & Critique. New York: Routledge

Davids, T., & Stede, W. (1921). The Pali Text Society's Pali-English Dictionary. London: True world book.

Hutton J. K. (1963). Caste and Race in India. Bombay: Popular Prakashan.

Kerbo, H. R. (2000). Social Stratification and Inequality; Class Conflict in Historical, Comparative and Global Perspective. New York: McGraw-Hill.

Majumdar, R. C. (1976). Advanced History of India. New York: Macmillan Company.

Sharma, R. (1958). Aspect of Political Idea and Institutions in Ancient India. Patna: Macmillan India.

Sharma, R. (2009). Indian Feudalism, C. AD 300-1200. Patna: Macmillan India.

Sonawani, S. (2017). The Origins of the Caste System a New Perspective. Pune: Pushpa Prakashan.

Tan, C. C., & Damnoen, P. S. (2020). Buddhist Noble Eightfold Path Approach in the Study of Consumer and Organizational Behaviors. Journal of MCU Peace Studies, 8(1), 1–20.

William, M. (1891). Brahmamism and Hinduism Religious Thought and Life in India. New York: New York: Macmillan Company.