การพัฒนารูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ประเภทช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Main Article Content

มนตรี สุขชุม
วีระวัฒน์ พัฒนกุลชัย
ภูมิภควัธจ์ ภูมพงศ์คชศร

บทคัดย่อ

การพัฒนารูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ประเภทช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นการศึกษาองค์ประกอบของการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและการศึกษารูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในการผลิตและพัฒนากำลังคน ระดับฝีมือประเภทช่างอุตสาหกรรมจะต้องพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาให้มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ ชุมชนและตลาดแรงงานผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาจะต้องมีทักษะความรู้และความสามารถที่เข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศมีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมถึงมีระบบบริหารจัดการที่มีความคล่องตัว ที่ทำให้ทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาอาชีวศึกษาได้อย่างกว้างขวางเพื่อประโยชน์ในการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตรงความต้องการของสถานประกอบการ 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ณรงค์ ฤทธิเดช. (2552). การพัฒนารูปแบบการดำเนินการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีระดับอาชีวศึกษาจังหวัด โดยใช้กระบวนการเครือข่ายศูนย์กาลังคนอาชีวะจังหวัด(วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎี). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนภัทร แสงจันทร์, ชูเกียรติ วิเศษเสนา, สงวนพงศ์ ชวนชม และ สมบูรณ์ ตันยะ. (2564). รูปแบบการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์, 8(2), 76-85.

ธานินทร์ ศรีชมพู. (2557). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(3), 120-131.

นงลักษณ์ เรือนทอง. (2550). รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผล(วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง และ อรพิณ ศิริสัมพันธ์. (2565). การพัฒนาหลักสูตรพหุวิทยาการและรูปแบบการจัดการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาชีพเชิงรุกเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพและการเรียนรู้เชิงผลิตภาพของผู้เรียนในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 739-759.

ประภาส เกตุไทย (2556). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีใน วิทยาลัยเทคนิคกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

ปิยะนาถ บุญมีพิพิธ. (2551). การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ของสถานศึกษา(วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551. (2551). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 43 ก, หน้า 1-24(5 มีนาคม 2551).

พิทยา ชินะจิตพันธุ์. (2553). รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี สาขาช่างอุตสาหกรรม(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรอุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

พิศณุ ทองเลิศ. (2558). นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา.วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 7(1), 86-100.

เมตต์ เมตต์การุณจิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และราชการ. กรุงเทพฯ: ไทยร่มเกล้า.

สมนึก บัวแก้ว และกิตติ รัตนราษี. (2564). แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในอาชีวศึกษาจังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารราชพฤกษ์, 19(1) 129-139.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2557). แนวทางการปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคีตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.

Damnoen, P. S., Siri, P., Supattho, P. S., & Kaewwilai, K. (2021). The Development of Student Characteristics in According to the Nawaluk Framework of the Buddhist integration of Buddhapanya Sri Thawarawadee Buddhist College. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 5(2), 126–135.