สมรรถนะพื้นฐานของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เพื่อชุมชนสันติสุขตามแนวทางสันติวิธี

Main Article Content

ยุวดี บำรุงบุตร

บทคัดย่อ

อาสาสมัครเป็นผู้ที่สมัครใจทำงานเพื่อประโยชน์แห่งประชาชนและ สังคมโดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงินหรือสิ่งอื่นใดหรือบุคคลที่อาสาเข้ามาช่วยเหลือสังคม ด้วยความสมัครใจ เสียสละเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น ป้องกัน แก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคมโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน เป็นการเลือกกระทำสิ่งต่างๆ ที่เห็นว่าเป็นสิ่งที่ควรกระทำ และเป็นความรับผิดชอบต่อสังคมโดยไม่หวังผลตอบแทน อาสาสมัครเป็นบุคคลที่อาสาเข้ามาช่วยเหลือสังคมด้วยความสมัครใจเสียสละเพื่อช่วยเหลือผู้อื่นช่วยพัฒนาสังคมป้องกันแก้ไขปัญหาสังคมโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน เป็นรูปแบบพฤติกรรมทางสังคมที่บุคคลเลือกกระทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยความสมัครใจ ซึ่งการกระทำนั้นเป็นประโยชน์ เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นหรือ สังคมให้เกิดประโยชน์และความสุขมากขึ้น บทความนี้นำเสนอสมรรถนะพื้นฐานของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เพื่อชุมชนสันติสุขตามแนวทางสันติวิธี เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาในอนาคตต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2558). คู่มือการฝึกอรมอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.). กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์. (2561). ชุมชนสันติสุขในพุทธศตวรรษที่ 26: ถอดบทเรียนชุมชนสันติสุขในพื้นที่ที่มีความขัดแย้ง. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 6(พิเศษ), 13-24.

ชญาดา เข็มเพชร. (2565). การส่งเสริมความมั่นคงแห่งชาติด้วยพระพุทธศาสนา. วารสารธรรมวัตร, 3(1), 27-38.

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. (2539). สันติทฤษฎี/วิถีวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.

นริศ มหาพรหมวัน, สมาน ฟูแสง, สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์ และ เรืองวิทย์ นนทภา. (2562). รูปแบบสมรรถนะผู้นำโรงเรียนเอกชนสู่มาตรฐานสากล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 13(2), 138-150.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2549). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุง และขยายความ. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. (2554). พุทธสันติวิธี การบูรณาการหลักการและเครื่องมือจัดการความขัดแย้ง. กรุงเทพฯ: 21 เซ็นจูรี่.

วันชัย วัฒนศัพท์. (2547). ความขัดแย้ง: หลักการ และเครื่องมือแก้ปัญหา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.

สมพร เทพสิทธา. (2546). การเดินตามรอยพระยุคลบาท เศรษฐกิจพอเพียง ช่วยแก้ปัญหาความยากจนและการทุจริต. กรุงเทพฯ: สภายุวพุทธิกสมาคมแห่งชาติ.

พระปรัชญ์กรณ์ วิยาสิงห์, พระอธิการวิชัย นาหนองบัว และ ธนรัฐ สะอาดเอี่ยม. (2565). พลังบวรกับการสร้างชุมชนให้เข้มแข็งผ่านมิติแกลมอของชาวกูย ในเขตตำบลศรีสุข อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 4(1), 39-48.

พระมหาวีรธิษณ์ อินทะโพธิ์ และ ธานี สุวรรณประทีป. (2565). ความปรารถนาของมนุษย์: บทวิเคราะห์ในมิติพระพุทธศาสนา. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 4(1), 29-38.

พระมหาศุภวัฒน์ บุญทอง, กฤติยา ถ้ำทอง และ ชำนาญ เกิดช่อ. (2565). การปรับสมดุลอินทรีย์ 5 ตามธาตุทั้ง 4 ในทางพระพุทธศาสนา. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 760-775.

พิสิฐ โอ่งเจริญ. (2563). รูปแบบการเพิ่มประสิทธิผลในการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) เพื่อการพัฒนาชุมชน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, 9(1), 65-75.

McClelland, D. C. (1995). Test For Competence, Rather Than Intelligence. American Psychologists, 17(7), 57-83.

Parry, S. B. (1997). Evaluating the Impact of Training. New York: John and Willey.

Damnoen, P. S., Siri, P., Supattho, P. S., & Kaewwilai, K. (2021). The Development of Student Characteristics in According to the Nawaluk Framework of the Buddhist integration of Buddhapanya Sri Thawarawadee Buddhist College. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 5(2), 126–135.

Tan, C. C., & Damnoen, P. S. (2020). Buddhist Noble Eightfold Path Approach in the Study of Consumer and Organizational Behaviors. Journal of MCU Peace Studies, 8(1), 1-20