แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

Main Article Content

ขจรศักดิ์ วงศ์วิราช
ธิติมา คุณยศยิ่ง
ณรงค์ คชภักดี
ดวงใจ พุทธวงศ์

บทคัดย่อ

การวิจัยเป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาซึ่งสิ่งสำคัญของการพัฒนาการวิจัย คือ การพัฒนานักวิจัยซึ่งจำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อนำไปสู่การพัฒนาผลงานวิจัยและพัฒนาประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ให้ความสำคัญต่อการพัฒนานักวิจัยดังนั้นเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานของวิชาชีพนักวิจัย และกรอบการประกันคุณภาพระดับมหาวิทยาลัยที่ต้องมีการผลการดำเนินงานต่างๆ เป็นไปตามเป้าหมายของเกณฑ์มาตรฐานโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการวิจัย ดังนั้นจึงเป็นประเด็นสำคัญที่นำไปสู่การวิจัยในครั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินระบบการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และ 3) เพื่อประเมินประสิทธิภาพระบบการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยมีเครื่องมือ คือ แบบประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพนักวิจัย รวมทั้งการใช้เทคนิคการถอดบทเรียนเพื่อนำเสนอผลการวิจัย โดยผลการวิจัยพบว่า


1. ผลการประเมินสมรรถนะนักวิจัยตามเกณฑ์มาตรฐานก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาของนักวิจัยมีพัฒนาการที่เพิ่มขึ้น โดยแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัยกำหนดรูปแบบของกิจกรรมและหลักสูตรตามผลการประเมินตนเองและความต้องการเพื่อการพัฒนานักวิจัย


2. โมเดลการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้วยปัจจัยความสำเร็จ องค์ประกอบด้านหน่วยสนับสนุนหรือสถาบันวิจัยและพัฒนา องค์ประกอบด้านผลผลิตนักวิจัย และองค์ประกอบด้านการดำเนินการ ส่วนประสิทธิภาพของระบบการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัยเมื่อใช้โมเดลของการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัยแล้วส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลแก่ตัวนักวิจัย ผลงานวิจัย และการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Boonpen, P., Chaijookul, Y. and Yalao, D. (2018). Research Competency and the Variables Affecting Successful Research: A Case Study of National Research Universities. Kasem Bundit Journal, 19(1), 73-88.

De-ong, W. (2010). The Competency Ability in the Research Work Administration of the Government Sector Researcher. NIDA Development Journal, 50(3), 171-200.

Institute of Professional Qualifications.(2020). Occupational Standards and Professional Qualifications Project Research service profession Research and development field. Conceptual framework for career standards and professional qualifications in research fields. Retrieved from http://rpqthailand.com/concept.php.

Jamjang, K., Aranwong, R., & Polprasert, P. (2013). Strategies for the Development of Rajabhat University Teachers’ Research Competencies in the Lower Northern Region. Journal of Education Naresuan University, 15(2), 86-96.

Lamdee, N. (2018). Research Progress Tracking System Development. Journal of Science and Technology Thonburi University, 2(1), 33-43.

Lampang Rajabhat University. (2019). Centralized Research Information System And Academic Services. Retrieved from https://research.lpru.ac.th/.

Lampang Rajabhat University. (2020). Personnel Database. Retrieved from http://saloongkum. lpru.ac.th/personalweb/personal.html.

Office of the Secretary of the National Strategy Committee. (2018). National Strategy 20 years. Retrieved from https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/544434.

Pechrpuang, S. (2018). Model of Educational Administration Research Competency Development of Graduate Students Suratthani Rajabhat University. Suratthani Rajabhat Journal, 5(2), 169-196.

Peungposop, N. (2020). Research Excellence of National Award-Winning Researchers: Characteristics, Definition and the Key Success Factors. Journal of Social Development, 22(1), 73-88.

Sanamthong, E., & Na-Nan, K. (2018). The Contexts influencing on the Training for Human Resource Development. MUT Journal of Business Administration, 15(1), 1-20.

Saithong, S. (2019). The Competencies Development Model of Lecturer Research Affiliating Government in Upper Northern. Nakhon Lampang Buddhist College’s Journal, 8(2), 129-139.

Sattabut, T. (2017). The Development of Human Resources Competency in Industry Sector to Provide the Readiness in ASEAN Community. Journal of the Association of Researchers, 22(2), 176-190.

Sitthiamorn, S. (2016). The Development of Competency Research and Development Through Empowerment and Self-Efficiency for Teacher at Secondary School. Journal of Education Research Faculty of Education, Srinakharinwirot University, 10(2), 174-185.

Sriputhorn, P., & Deenang, E. (2022). The Development of Competency Indicators Researcher of Rajabhat University in Northeast. Udon Thani Rajabhat University Journal of Giru Education, 4(1), 53-69.

Thailand Science Research and Innovation. (2019). Policies and Strategies of Higher Education, Science, Research and Innovation B.E. 2020-2027. Retrieved from https://backend.tsri. or.th/

Thamma, J., Arerat, W., & Arerat, T. (2018). Development of Research Database Systems and Researchers Faculty of Information Technology Maha Sarakham Rajabhat University. Maha Sarakham: Maha Sarakham Rajabhat University.

Vichianpanya, J. Natakuatoong, O., & Bungbua, P. (2020). The Development of Knowledge Management System for Research Utilization. Journal of the Association of Researchers, 25(1), 532-549.

Wattanachaisit, C., Tobua, S., & Lapanachokdee, W. (2018). Competencies and Guidelines for Developing the Ink Product on Packaging Researcher and Developer’s Competencies. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 12(27), 157-165.