พุทธบูรการการจัดการตลาดนัดชุมชน: กรณีวัดบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

พระอธิการญาณวุฒิ หรั่งแสง
สมชาย ดำเนิน
นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร

บทคัดย่อ

ตลาดนัดชุมชนเป็นตลาดที่ได้รับความนิยมจากประชาชนในระดับต่าง ๆ อย่างมากในทุกๆ ส่วนภูมิภาค เพราะประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึง และกว้างขวางกว่าตลาดอื่นๆ ที่ประชาชนนั้นสามารถเข้าถึงได้อีกทั้งตลาดนัดยังมีสินค้าที่หลากหลายเหมาะสมกับการดำรงชีพของประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ มีการหมุนเวียนและปรับเปลี่ยนสินค้าอยู่ตลอดเวลาตามวันและเวลาที่มีการกําหนดที่มีการจัดไว้ของแต่ละตลาดนัด นําไปสู่การสร้างความยั่งยืนของตลาดชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่เป็นส่วนสําคัญในการผลักดันให้เกิดการพัฒนาและสนับสนุนการจัดการตนเอง พุทธบูรการการจัดการตลาดนัดชุมชน: กรณีวัดบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร จึงเป็นการบูรณาการหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการตลาดนัดชุมชนที่เหมาะสมต่อไป  

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2557). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 27). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รัตติยา เหนืออำนาจ, อัครเดช พรหมกัลป์, สมคิด พุ่มทุเรียน และ จรูญศักดิ์ สุนทรเดชา. (2564). การพัฒนาความรู้และองค์ประกอบชุมชนสร้างสรรค์ “Smart Community” ของชุมชนในสังคมไทย. วารสารศิลปการจัดการ, 5(3), 559-573.

ราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั่นส์.

สกุณี ณัฐพลมรัตน์. (2541). ตลาดน้ำวิถีชีีวิตพ่อค้า – แม่ขายไทย. กรุงเทพฯ: เอส.ที.พี. เวิลด์.มีเดีย.

สุชานาถ พัฒนวงศ์งาม. (2560). ตลาดนัดชุมชนเป็นเศรษฐกิจฐานรากของจุดเริ่มต้นของกระบวนการโลจิสติกส์: กรณีศึกษาตลาดนัดชุมชนบริเวณสนามกีฬาเทศบาลเมืองฉะเชิงเทราอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 10(2), 197-212.

อนุรัตน์ ไชยปิน. (2559). แนวทางการจัดตั้งตลาดนัดชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนหมู่บ้านห้วยโค้ง ตำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(2), 124-138

Chanklap, B. (2021). Approaches to Morning Glory Supply Chain Management of Tung Yee Peng Community, Ko Lanta District, Krabi Province. International Journal of Multidisciplinary in Management and Tourism, 5(1), 9–18.

Nanan, P., & Sachdev, H. (2021). The Integration of a Systematic Thinking Science and Cross-Impact Analysis for a Holistic View of Sustainable Agriculture Development: A Case Study in Phraek Nam Daeng Sub-District, Amphawa District, Samut Songkhram Province. Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences, 4(3), 1238–1253.

Tan, C. C., Damnoen, P. S., Huanjit, P. S., Toprayoon, Y., Jankaew, W., & Pindon, P. S. (2021). A Socio-Cognitive Structured Stimuli in Validating Students’ Organistic States Represented by Self-Efficacy and Psychological Engagement for Career Search Self-Efficacy. Review of International Geographical Education Online, 11(10), 2163-2174.

Yusamran, P. P., Thitipasitthikorn, P. P., Damnoen, P. S., Thienthong, P. B., Rattana-ngam, S, & Homchan, P. (2021). Conservative And Inheritance of Atthami Bucha Day for Sustainable Promotion Tourism. Journal of Positive Psychology and Wellbeing, 5(3), 1400–1410.