การมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อการส่งเสริมความโปร่งใสขององค์ปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในประชาคมอาเซียน

Main Article Content

จิดาภา เร่งมีศรีสุข
นภัทร์ แก้วนาค

บทคัดย่อ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยเป็นองค์กรที่มีความสำคัญในด้านการพัฒนาประเทศในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าในรูปแบบองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหลาย อันจะเป็นองค์กรที่ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นทั้งในแง่ของภารกิจงบประมาณและบุคลากรของท้องถิ่นอยู่ไม่น้อยเช่นกัน ภายใต้การถ่ายโอนภารกิจและงบประมาณให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้ดำเนินภารกิจ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าในการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำลังถูกท้าทายความสามารถในเชิงการบริหารจัดการให้มีความน่าเชื่อถือและความโปร่งใส อันจะเป็นฐานสำคัญในการพัฒนาประเทศให้เกิดการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความโปร่งใสก่อให้เกิดความยั่งยืนในการบริหารจัดการประเทศโดยเฉพาะการเป็นประเทศที่ต้องแข่งขันกันและการสร้างความพร้อมด้านการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในประชาคมอาเซียน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

โกวิทย์ พวงงาม. (2552). คู่มือและตัวชี้วัดสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านความโปร่งใส. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.

จุมพล โพธิสุวรรณ. (2564). พฤติกรรมผู้นำเชิงยุทธศาสตร์. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 135-148.

ชิต นิลพานิช และกุลธน ธนาพงศธร. (2532). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชูศักดิ์ เที่ยงตรง. (2558). การบริหารการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ถนัด ไชยพันธ์, พิเชฐ ทั่งโตสุรินทร์ นิยมางกูร และ จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. (2561). การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมเพื่อการส่งเสริมประสิทธิผลในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(3), 76-89.

ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. (2551). นักการเมืองไทย: จริยธรรมผลประโยชน์ทับซ้อนการคอรัปชั่น. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี

นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2552). การปกครองส่วนท้องถิ่น. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

ปริณุต ไชยนิชย์ และคณะ. (2564). การนำเรื่องเล่ามาวิเคราะห์: การต่อรองกับโครงสร้างสังคมกรณีศึกษา ผู้สูงอายุในหมู่ 1 ตำบลหนองแวง อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 3(2), 175-189.

ปิยะธิดา อภัยภักดิ์. (2561). แนวทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นในหน่วยงานภาครัฐ. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 13(1), 1-12.

พระใบฏีกาสุพจน์ ตปสีโล. (2561). การพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน : การเชื่อมโยง ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงและหมู่บ้านรักษาศีล 5 ในจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ และสุรินทร์. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 6(1), 116-128.

ภณสิทธ์ อ้นยะ. (2564). ศึกษาความต้องการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนริมคลองประเวศบุรีรมย์ เขตลาดกระบัง เพื่อพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืน. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 3(1), 1-12.

ภาวนา พงศ์ปริตร. (2564). ประสิทธิผลการบริหารภาครัฐแนวใหม่ของศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี กรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 177-191.

ระพีพร คณะพล สัญญา เคณาภูมิ และ ยุภาพร ยุภาศ. (2559). หุ้นส่วนทางการบริหารท้องถิ่น : บทบาททางสังคมกับการเสริมสร้างชุมชนสันติสุข. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 4(1), 243-256.

สุริยานนท พลสิม. (2561). การยกระดับความโปรงใสในภาครัฐ : กรณีศึกษาจากประเทศญี่ปุน. วารสารการบริหารทองถิ่น, 11(3), 106-126.

สมพงษ์ เกศานุช และคณะ. (2564). การประเมินศักยภาพและความต้องการของชุมชน รองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดหนองคาย. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 3(1), 13-26.

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2542). ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานเลขาธิการัฐสภา. (2561). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา.

โสมวลี ชยามฤต. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับยุคดิจิทัลขององค์การภาครัฐและเอกชน. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 38-50.

อรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน สำหรับนักบริหารท้องถิ่น.กรุงเทพฯ: จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์

Damnoen, P. S., Phumphongkhochasorn, P., Punwasuponchat, N., & Srichan, P. W. (2021). The Development of Learning Management Design Models in Compulsory Subjects of The Master of Education Program in Educational Administration Innovation in order To Enhance The Characteristics of Learners According To The Needs of The Professional Education Institution Administrators. Turkish Journal of Physiotherapy and Rehabilitation, 32(3), 20459 – 20466.

Jantaratim, K., Wongsuwan, K., Pachimsawat, K., & Peammatta, J. (2021). Public Opinion Survey on the Government’s Economic Policy of the NCPO. International Journal of Multidisciplinary in Management and Tourism, 5(1), 29-35

Kahintapongs, S. (2020). Renewable Energy Policy Development in Thailand. International Journal of Multidisciplinary in Management and Tourism, 4(2), 148-155.

Levi, D. (2007). Group Dynamic for Teams. (2nd ed.). Los Angeles: Sage Publications.

Puranasukhon, N., Amnuaysawasdi, S., & Suwannarat, T. (2020). Senate and Politics of Thailand. International Journal of Multidisciplinary in Management and Tourism, 4(1), 61-68.

Songsraboon, R., Thongtao, J., Damnoen, Huanjit, P. S. (2021). Course Management Based on Outcome-Based Education (OBE) of Learning by Working in Real Conditions. Turkish Journal of Physiotherapy and Rehabilitation, 32(3), 20491 – 20499.

Teorell, J. (2006). Political Participation and Three Theories of Democracy: A Research Inventory and Agenda. European Journal of Political Research, 45(5), 787-810.