ความมั่นคงของห่วงโซ่อาหารตามวิถีเกษตรพอเพียงกับการปรับตัวในการดำรงชีวิตภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการสร้างความมั่นคงของห่วงโซ่อาหารตามวิถีเกษตรพอเพียงกับการปรับตัวในการดำรงชีวิตภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ในพื้นที่แปลงเกษตรสาธิต อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์ ใช้การศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย การลงมือปฏิบัติในพื้นที่ดินเดิม รวมทั้งการสังเกตและสัมภาษณ์ นำเสนอผลการศึกษาด้วยการเขียนเป็นความเรียงในรูปแบบบทความวิชาการ ผลการศึกษาพบว่า ภายใต้สถานการ์ที่ยากลำบากทั้งในเรื่องอาหาร และวัคซีนรักษาโควิด-19 อาหารนับเป็นปัจจัยสำคัญต่อการคงอยู่ของมนุษย์ โมเดลเกษตรวิถีพอเพียงจึงเป็นทางออกในการสร้างแหล่งผลิตอาหาร เพื่อสร้างความมั่นคงของห่วงโซ่อาหาร เพื่อรองรับสถานการณ์โควิดที่ยังไม่มีแนวโน้มที่จะมีจำนวนผู้ติดเชื้อลดลง และภาวะชะงักงันของเศรษฐกิจและการถดถอยของเศรษฐกิจในองค์รวมอีกอย่างน้อย 1-3 ปี ซึ่งในการใช้การวิจัยเชิงทดลองโดยใช้การสร้างพื้นที่ในที่ดินเดิมจึงนับจะเป็นวิธีการในการผลิตอาหารและห่วงโซ่อาหารเพื่อรองรับสมาชิกในครอบครัวและในชุมชนต่อไปได้ โดยจะมีผลเป็นต้นแบบให้กับชุมชนอื่นๆ ในการใช้พื้นที่ดินเป็นแหล่งผลิตอาหารภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และมีความยั่งยืนในการผลิตอาหารในแบบวิถีชุมชน
Article Details
References
จารุณี วรรณศิริกุล. (2559). เรื่องเล่าประวัติศาสตร์...บนเส้นทางอาหาร. วารสารนิเทศสยามปริทรรศน์, 15(19), 166-167.
จักรี ไชยพินิจ. (2561). โลกาภิวัตน์ โครงสร้างอำนาจโลก และรัฐไทย: สหรัฐอเมริกากับการวางรากฐานองค์ความรู้ รัฐประศาสนศาสตร์ไทย. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 10(2), 37-72.
ชณิตา ประดิษฐ์สถาพร และคณะ. (2562). การพัฒนาจิตสำนึกคนในท้องถิ่นต่อการอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน ตำบล
แม่ใส จังหวัดพะเยา. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 11(3), 205-217.
ปณิดาภา สวนแก้ว. (2557). ความสำเร็จของนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน. วารสารวิจัย มสด สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(1), 47-58.
ปัทมา โกเมนท์จำรัส. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรู้เกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระดับการปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลสองคลอง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(3), 84-98.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2555). การศึกษาเริ่มต้นเมื่อคนกินอยู่เป็น. กรุงเทพฯ: ธรรมะอินเทรนด์.
ไพลิน กิตติเสรีชัย. (2557). มหาอำนาจอาหาร. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 40(2), 19-37.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วีระพงษ์ มีไธสง. (2561). มนุษย์: กระบวนทัศน์ทางความเชื่อและความคิด. วารสารปรัชญาและศาสนา, 3(1), 83-113.
สากล พรหมสถิต, มาริษา ศรีษะแก้ว และ สถาพร วิชัยรัมย์. (2563). ศาสตร์พระราชา : เกษตรทฤษฎีใหม่ในรูปแบบโคก หนอง นา โมเดล. วารสารสหวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 4(2),31-40.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2562). สถิติการส่งออกผลไม้และผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ปี 2562 ถึง 2562. สืบค้น 30 พฤษภาคม 2563. จาก http://impexp.oae.go.th/service/export.php? S_YEAR=2562&E_YEAR=2562&PRODUCT_GROUP=5252&PRODUCT_ID=&wf_search=&WF_SEARCH=Y
สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ. (2549). มิติวัฒนธรรมของอาหารการกินกับจริยธรรมของการบริโภค. สืบค้น 15 พฤษภาคม 2563. จาก http://www.shi.or.th/content/33/
Achito, P. E. et al. (2020).The Role of Monks in Pulic Welfare Under the Pademic of Covid 19 Virus: A Case Study of Luang Por Daeng Nanthiyo’s Role, Intharam Monasty, Samut Songkhram Province. Journal of MCU Social Science Review, 9(3), 289-204.
Berger, P. (2011). Studies on Food in Hinduism. Faculty of Theology and Religious Studies, University of Groningen. Retrieved https://www.academia.edu/7966745/Studies_on_ Food_in_ Hinduism.
Bioresource Technology Reports. (2020). Retrieved June 2021, From https://www.sciencedirect. com/journal/bioresource-technology-reports.
Buddhisaro, P. R. et al. (2021). Impact on Temple Missions and Roles in the COVID-19 Situation: A Case Study of Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Psychology and Education, 58(1), 1572-1577.
Kassam, Z., & Robinson, S. E. (2014). Islam and Food. Encyclopedia of Food and Agriculture Ethics.1282-1291 https://www.researchgate.net/publication/304115876_Islam_and_Food.
Kimel, A. (2004). Eating Christ: Recovering the Language of Real Identification. Pro Ecclesia: A Journal of Catholic and Evangelical Theology, 13(1), 82-100.
Lancet Glob Health. (2020). Retrieved June 2021, from https://www.thelancet.com/journals/ langlo/ home.
Standage, T. (2009). An Edible History of Humanity. New York: Walker & Company.
The Academy. (2018). อนาคตเกษตรในไทยแลนด์ 4.0. สืบค้น 30 พฤษภาคม 2563. จาก https:// marketeeronline.co/archives/7375?fbclid=IwAR31tfgAB08f-avifXRZtS50ZFbphqeJTJlj8MG vhBvw8 Ah4UTDwE1gIsWs.