การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของจังหวัดชัยนาท

Main Article Content

ธันยนันท์ จันทร์ทรงพล
กีรติวรรณ กัลยาณมิตร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาและอุปสรรค นำเสนอแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของจังหวัดชัยนาท กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือบุคคลากรในหน่วยงานภาครัฐ ประกอบไปด้วย ผู้บริหารภาครัฐ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในจังหวัดชัยนาท ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความสอดคล้องของคำถามกับวัตถุประสงค์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิเคราะห์แบบอุปนัยและเชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่าสถานการณ์การท่องเที่ยวของจังหวัดชัยนาท มีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นทุกปี มีการเติบโตขึ้นต่อเนื่อง เป็นจังหวัดที่มีสถานที่หลากหลาย มีปัญหาและอุปสรรคในหลายด้านซึ่งขาดความเชื่อมโยงและมีความต่อเนื่องของแต่ละแหล่งท่องเที่ยว นำหลักการส่วนประสมทางการตลาดบริการ 7 ด้าน มาใช้ในการดำเนินการ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

โกวิทย์ พวงงาม. (2553). การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2550). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชัชราวรรณ มีทรัพย์ทอง, จิราวรรณ คงคล้าย และ เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2559). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21. วารสาร ธุรกิจปริทัศน์, 8(1), 183-197.
ณักษ์ กุลิสร์ , อรทัย เลิศวรรณวิทย์, จิระวัฒน์ อนุวิชชานนท์, รัตนา แสงจันทร์. (2558). แผนการตลาดการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการบนฐานข้อมูลพฤติกรรม นักท่องเที่ยวและการมีส่วนร่วมของชุมชนจังหวัดชัยนาท. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18, 51-65.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2552). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: เพชรจรัสแสงธุรกิจ.
สยามล ชัยรัตนอุดมกุล และ วิลาศ เทพทา. (2553). การพัฒนากายภาพและการเพิ่มคุณค่าของแหลงท่องเที่ยวที่เปนภาพลักษณของจังหวัดชัยนาท. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555 - 2559. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
Barney, J. B., & Clark, D. N. (2009). Resource-Based Theory: Creating and Sustaining Competitive Advantage. New York: Oxford University Press.
Chakrabarti, D. (2012). Impact of High Performance Work Systems on Performance of a Firm: A Study of Service Sector in India. Germany: Lap Lambert Academic..
Chang, Y. Y. (2015). A Multilevel Examination of High-Performance Work Systems and Unit-Level Organizational Ambidexterity. Human Resource Management Journal, 25(1), 79-101.
Dessler, G. (2006). A Framework for Human Resource Manangment. (4th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Greer, C. R. (2001). Strategic Human Resource Management: A General Managerial Approach. New Jersey: Prentice Hall.
Kotler, P. (2003). Marketing Management. (11th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Kurtz, D. L. (2008). Principles of Contemporary Marketing. China: South-Western.
Lundy, O. (1994). From Personnel Management to Strategic Human Resource Management. International Journal of Human Resource Management, 5 (3), 687-720.
Maharatsakul, P. (2001). Human Resource Management by Information Technology. (2nd ed.). Bangkok: Technology Promotion Association (Thai Japan).
Posthuma, R. A., Campion, M. C., Masimova, M., & Campion, M. A. (2013). A High Performance Work Practices Taxonomy: Integrating the Literature and Directing Future Research. Journal of Management, 39(5), 1184-1220.
Purcell, J. (1989). The Impact of Corporate Strategy and Human Resource Management. In J. Storey (ed.) New Perspectives on Human Resource Management. London: Routledge.
Stanton, W. J. & Futrell, C. (2001). Fundamentals of Marketing. (8th ed.). New York: McGraw – Hill Book.
Walton, R. E. (1985). From Control to Commitment in the Workplace. Harvard Business Review, 63(2), 77-84.