การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์การจัดการขยะเหลือใช้ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนคลองโยง จังหวัดนครปฐม
คำสำคัญ:
สื่อประชาสัมพันธ์, กราฟิกและมัลติมีเดีย, สื่อผสมผสาน, ออนไลน์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์การจัดการขยะเหลือใช้ในโครงการ บริการวิชาการของชุมชนคลองโยง จังหวัดนครปฐม ซึ่งปัจจุบันมีรูปแบบการประชาสัมพันธ์อยู่หลายรูปแบบ ที่นำมาใช้ ผู้วิจัยจึงได้เลือกนำเสนอแนวทางการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบที่ต่างไปจากสื่อเดิม โดย คำนึงถึงการใช้งานที่จะต้องเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายใหม่ๆ ให้ได้มากที่สุด
ผลการวิจัยพบว่าการทำงานแบบมีส่วนร่วมกับชุมชนจะสามารถออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ที่ตรงตามความต้องการได้มากที่สุด โดยผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎีและหลัการออกแบบสำหรับถ่ายทอดรูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อนำ ไปให้ชุมชนได้คัดเลือกจาก 4 รูปแบบในแต่ละประเภทของสื่อประชาสัมพันธ์ที่จะใช้ในโครงการด้วยการตอบแบบ สอบถามหลังจากเห็นภาพผลงานออกแบบที่ให้เลือก ซึ่งผลลัพท์ที่ได้มาทำให้สามารถสรูปรูปแบบที่จะนำไปใช้จริง ได้ชัดเจนมากขึ้น
References
Kraichock Nimonphan. (2013, December 16). Multimedia Planning and Design. www.kraichok.blogspot.com/2013
/02/blogpost_5816.html
Boonyiam Yammuang. (1994). Aesthetics in Visual Arts. Bangkok. Odeon Store
Papoj Nunpakdee. (2010). Principles and process of graphic design. Nonthaburi. IDC Premier.
Sangkhet Nakpaijit. (1987). Principles of design. Mahasarakham. Preeda Printing
Sorachai Nuntawatwiboon. (2002). Towards the path of graphic designers. Bangkok. Print Dee Co., Ltd.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว