การข้ามพ้นวัฒนธรรมกับการเปลี่ยนแปลงความหมายของงิ้วในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการศึกษาความัสมพันธ์ระหว่างการข้ามพ้นวัฒนธรรมของงิ้วกับความหมายของงิ้วในประเทศไทย โดยใช้แนวคิดเรื่องการข้ามพ้นวัฒนธรรมและแนวคิดเรื่องการสร้างความหมาย วิธีการที่ใช้คือการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์ และการวิเคราะห์เอกสาร
ผลการศึกษาพบว่างิ้วมีความหมายหลากหลายมิติ โดยสัมพันธ์กับปัจจัยอันได้แก่
- ความเชื่อทางศาสนา
- สถาบันกษัตริย์และราชสำนัก
- ความเชื่อมโยงกับประเทศจีน
- การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ
- การศึกษา
- การเมืองการปกครอง
- สื่อมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ
งิ้วจากจีนเมื่อเข้ามาสู่ไทยก็สามารถให้กำเนิดงิ้วแขนงใหม่ ไม่ว่าจะเป็นงิ้วไทยและงิ้วการเมือง นอกเหนือไปจากงิ้วแต้จิ๋วตามแบบขนบ งิ้วเหล่านี้มีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา มีการผสมผสานกับวัฒนธรรมอื่นในประเทศไทย รวมถึงย้อนกลับไปปะทะสังสรรค์กับงิ้วในประเทศจีน
Article Details
บท
Articles
References
ภาษาไทย
กรรชิง โชติกเสถียร. (มปป). ชาวจีนในประเทศไทยหรือชนสองสัญชาติ.
กาญจนา แก้วเทพ. (2549). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรส.
กาญจนาคพันธุ์. (2523). 80 ปีในชีวิตของข้าพเจ้า. หนังสืออนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญนาคพันธุ์)
งิ้วเซ็นเตอร์. (2556). (http://www.ngiewcenter.com Retrieved 2556-10-11 “งิ้วธรรมศาสตร์’19” เรื่อง เปาบุ้นจิ้น ตอนสะสางคดี 6 ศพ. (2556). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เจริญ ตันมหาพราน. (2547). ศาลเจ้าจันศักดิ์สิทธิ์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: วันชนะ.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2512). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. หนังสืออนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หลวงประเสริฐไมตรี (วงศ์ โชติกเสถียร).
จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า. (2536). เจ้าชีวิต. กรุงเทพฯ: ริเวอร์บุ๊คส์.
ชัวซีย์. (2516). จดหมายเหตุรายวันการเดินทางไปสู่ประเทศสยามในปีค.ศ.1685 และ 1686. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. กรุงเทพฯ : ก้าวหน้า.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯกรมพระยา. (2500). ตำนานเลิกอากรบ่อนเบี้ยและหวย. พระนคร: กรมศิลปากร.
ต้วนลี่เซิง, และบุญยิ่ง ไร่สุขสิริ. (2543). ความเป็นมาของวัดจีนและศาลเจ้าจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการศาสนาเพื่อการพัฒนา.
ทิพากรวงศ์ เจ้าพระยา. (มปป.). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ฉบับโรงเรียนสวนกุหลาบ. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภา
นรินทรเทวี, กรมหลวง. (2526). จดหมายเหตุความทรงจำ ของ กรมหลวงนริทรเทวี (พ.ศ.2310-2381) และพระราชวิจารณ์ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: อมรินทร์การพิมพ์.
นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา. (2506). ประชุมบทละคอนและบทคอนเสิต. พระนคร: กรมศิลปากร.
เนตรดาว พละมาตย์. (2531). ศาลเจ้าชาวจีนในเมืองไทย. คนจีน 200 ปีภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ภาค 2. กรุงเทพมหานคร: เส้นทางเศรษฐกิจ, 220-224
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2526). ฉาวโจวซี่: งิ้วแต้จิ๋ว. วารสารศิลปากร. 27,1(มี.ค. 2526): 12-45.
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2546). วิถีจีน. กรุงเทพฯ: ประพันธสาส์น
พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1-4 เล่ม 1. (2555). นนทบุรี: ศรีปัญญา.
พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1-4 เล่ม 2. (2555). นนทบุรี: ศรีปัญญา.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2509). บทละครสังคีตเรื่องมิกาโด กับ เรื่องวั่งตี๋. พระนคร: มูลนิธืมหามงกุฎราชวิทยาลัย.
ยิ้ม ปัณฑยางกูร. (2523). ประชุมหมายรับสั่ง ภาคที่ 1 สมัยกรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
รัฐกร อัสดรธีรยุทธ์. (มปป.). บนเส้นทางหลายแสนลี้ของงิ้ว. วารสารพาที
ลาลูแบร์. (2510). ราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. กรุงเทพฯ: ก้าวหน้า.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2526). จีนในไทย. คนจีน 200 ปีภายใต้พระบรมโพธิสมภาพ. 15-26. กรุงเทพมหานคร: เส้นทางเศรษฐกิจ.
ศรีสุเรนทร์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่น. (2510). โคลงถวายพระเพลิงอัฐิพระเจ้าหลวงและตำหนักแพ. พระนคร: กรมศิลปากร.
สกินเนอร์. (2548). สังคมจีนในไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้า.
สงวน อั้นคง. (2516). สิ่งแรกในเมืองไทย เล่ม 3. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
สมภพ ภิรมย์. (2539). พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยกรุงรัตนโกสิทร์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
สันทัดอักษรสาร, พระ. (2516). ตำนานงิ้วในเมืองไทย.
เสฐียรโกเศศ. (2547). พื้นความหลัง. กรุงเทพฯ: ศยาม…
สำนักเอเชียและแปซิฟิค กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2555). “จีนและการเข้าเป็นสมาชิก WTO ครบรอบ 10 ปี” http://www.dtn.go.th กุมภาพันธ์ 2555
หนุมาณ กรรมฐาน. [บ.ก.]. (2551). พระราชพงศาวดารกรุงธนบึรี ฉบับพันจันทุมาศ (เจิม) : จดหมายรายวันทัพ, อภินิหารบรรพบุรุษและเอกสารอื่น. นนทบุรี: ศรีปัญญา.
หอสมุดแห่งชาติ, งานบริการหนังสือพิมพ์และวารสาร. (2519). วารสารและหนังสือพิมพ์ภาษาจันที่ตีพิมพ์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ.
อมรา พงศาพิชญ์. (2538). วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์: วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อมรา พงศาพิชญ์. (2545). ความหลากหลายทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัศวพาหุ. (2528). พวกยิวแห่งบูรพทิศ และ เมืองไทยจงตื่นเถิด. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.
อารีย์ นักดนตรี. (2538). “รากฐานการผลิตและฟื้นฟูละครของคุณจำนง รังสิกุล” ตำนานโทรทัศน์ไทยกับจำนง รังสิกุล. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง. หน้า 167-234.
ภาษาอังกฤษ
Appadurai, A. (1996). Modernity at large culture dimensions of globalization. Minneapolis: University of Minnesota Press.
Chan, K.B. (2002). “Both sides now: culture contact, hybridization, and cosmopolitanism” Conceiving cosmopolitanism. Oxford: Oxford University Press pp 191-208
Epstein, M. (2009). “Transculture” The American Journal of Economics and Sociology. 68, 1 Jan, 2009.
Gans, E. (2000). “Chronicles of Love and Resentment” http://ww.anthropoetics.ucla.edu/views/vW209.htm Jun 3, 2000 Retrieved 2011—8-23
สัมภาษณ์
ณิชากร ตั้งศิววงศ์. (2557). สัมภาษณ์. 2 ก.พ. 2557.
ถาวร สิขโกศล. (2555). สัมภาษณ์. 8 ก.ย. 2555.
บุญชู แซ่ฉั่ว. (2557). สัมภาษณ์. 30 ธ.ค. 2556.
วิโรจน์ ตั้งวานิช. (2557). สัมภาษณ์ 30 พ.ค. 2557.
อำพัน เจริญสุขลาภ. (2557). สัมภาษณ์ 2 พ.ค. 2557.
อำพัน เจริญสุขลาภ. (2557). สัมภาษณ์ 29 ส.ค. 2557.
อำพัน เจริญสุขลาภ. (2557). สัมภาษณ์ 3 ต.ค. 2557.
กรรชิง โชติกเสถียร. (มปป). ชาวจีนในประเทศไทยหรือชนสองสัญชาติ.
กาญจนา แก้วเทพ. (2549). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรส.
กาญจนาคพันธุ์. (2523). 80 ปีในชีวิตของข้าพเจ้า. หนังสืออนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญนาคพันธุ์)
งิ้วเซ็นเตอร์. (2556). (http://www.ngiewcenter.com Retrieved 2556-10-11 “งิ้วธรรมศาสตร์’19” เรื่อง เปาบุ้นจิ้น ตอนสะสางคดี 6 ศพ. (2556). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เจริญ ตันมหาพราน. (2547). ศาลเจ้าจันศักดิ์สิทธิ์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: วันชนะ.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2512). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. หนังสืออนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หลวงประเสริฐไมตรี (วงศ์ โชติกเสถียร).
จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า. (2536). เจ้าชีวิต. กรุงเทพฯ: ริเวอร์บุ๊คส์.
ชัวซีย์. (2516). จดหมายเหตุรายวันการเดินทางไปสู่ประเทศสยามในปีค.ศ.1685 และ 1686. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. กรุงเทพฯ : ก้าวหน้า.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯกรมพระยา. (2500). ตำนานเลิกอากรบ่อนเบี้ยและหวย. พระนคร: กรมศิลปากร.
ต้วนลี่เซิง, และบุญยิ่ง ไร่สุขสิริ. (2543). ความเป็นมาของวัดจีนและศาลเจ้าจีนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการศาสนาเพื่อการพัฒนา.
ทิพากรวงศ์ เจ้าพระยา. (มปป.). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ฉบับโรงเรียนสวนกุหลาบ. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภา
นรินทรเทวี, กรมหลวง. (2526). จดหมายเหตุความทรงจำ ของ กรมหลวงนริทรเทวี (พ.ศ.2310-2381) และพระราชวิจารณ์ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: อมรินทร์การพิมพ์.
นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา. (2506). ประชุมบทละคอนและบทคอนเสิต. พระนคร: กรมศิลปากร.
เนตรดาว พละมาตย์. (2531). ศาลเจ้าชาวจีนในเมืองไทย. คนจีน 200 ปีภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ภาค 2. กรุงเทพมหานคร: เส้นทางเศรษฐกิจ, 220-224
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2526). ฉาวโจวซี่: งิ้วแต้จิ๋ว. วารสารศิลปากร. 27,1(มี.ค. 2526): 12-45.
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2546). วิถีจีน. กรุงเทพฯ: ประพันธสาส์น
พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1-4 เล่ม 1. (2555). นนทบุรี: ศรีปัญญา.
พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1-4 เล่ม 2. (2555). นนทบุรี: ศรีปัญญา.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2509). บทละครสังคีตเรื่องมิกาโด กับ เรื่องวั่งตี๋. พระนคร: มูลนิธืมหามงกุฎราชวิทยาลัย.
ยิ้ม ปัณฑยางกูร. (2523). ประชุมหมายรับสั่ง ภาคที่ 1 สมัยกรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
รัฐกร อัสดรธีรยุทธ์. (มปป.). บนเส้นทางหลายแสนลี้ของงิ้ว. วารสารพาที
ลาลูแบร์. (2510). ราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. กรุงเทพฯ: ก้าวหน้า.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2526). จีนในไทย. คนจีน 200 ปีภายใต้พระบรมโพธิสมภาพ. 15-26. กรุงเทพมหานคร: เส้นทางเศรษฐกิจ.
ศรีสุเรนทร์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่น. (2510). โคลงถวายพระเพลิงอัฐิพระเจ้าหลวงและตำหนักแพ. พระนคร: กรมศิลปากร.
สกินเนอร์. (2548). สังคมจีนในไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้า.
สงวน อั้นคง. (2516). สิ่งแรกในเมืองไทย เล่ม 3. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
สมภพ ภิรมย์. (2539). พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยกรุงรัตนโกสิทร์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
สันทัดอักษรสาร, พระ. (2516). ตำนานงิ้วในเมืองไทย.
เสฐียรโกเศศ. (2547). พื้นความหลัง. กรุงเทพฯ: ศยาม…
สำนักเอเชียและแปซิฟิค กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2555). “จีนและการเข้าเป็นสมาชิก WTO ครบรอบ 10 ปี” http://www.dtn.go.th กุมภาพันธ์ 2555
หนุมาณ กรรมฐาน. [บ.ก.]. (2551). พระราชพงศาวดารกรุงธนบึรี ฉบับพันจันทุมาศ (เจิม) : จดหมายรายวันทัพ, อภินิหารบรรพบุรุษและเอกสารอื่น. นนทบุรี: ศรีปัญญา.
หอสมุดแห่งชาติ, งานบริการหนังสือพิมพ์และวารสาร. (2519). วารสารและหนังสือพิมพ์ภาษาจันที่ตีพิมพ์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ.
อมรา พงศาพิชญ์. (2538). วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์: วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อมรา พงศาพิชญ์. (2545). ความหลากหลายทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัศวพาหุ. (2528). พวกยิวแห่งบูรพทิศ และ เมืองไทยจงตื่นเถิด. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.
อารีย์ นักดนตรี. (2538). “รากฐานการผลิตและฟื้นฟูละครของคุณจำนง รังสิกุล” ตำนานโทรทัศน์ไทยกับจำนง รังสิกุล. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง. หน้า 167-234.
ภาษาอังกฤษ
Appadurai, A. (1996). Modernity at large culture dimensions of globalization. Minneapolis: University of Minnesota Press.
Chan, K.B. (2002). “Both sides now: culture contact, hybridization, and cosmopolitanism” Conceiving cosmopolitanism. Oxford: Oxford University Press pp 191-208
Epstein, M. (2009). “Transculture” The American Journal of Economics and Sociology. 68, 1 Jan, 2009.
Gans, E. (2000). “Chronicles of Love and Resentment” http://ww.anthropoetics.ucla.edu/views/vW209.htm Jun 3, 2000 Retrieved 2011—8-23
สัมภาษณ์
ณิชากร ตั้งศิววงศ์. (2557). สัมภาษณ์. 2 ก.พ. 2557.
ถาวร สิขโกศล. (2555). สัมภาษณ์. 8 ก.ย. 2555.
บุญชู แซ่ฉั่ว. (2557). สัมภาษณ์. 30 ธ.ค. 2556.
วิโรจน์ ตั้งวานิช. (2557). สัมภาษณ์ 30 พ.ค. 2557.
อำพัน เจริญสุขลาภ. (2557). สัมภาษณ์ 2 พ.ค. 2557.
อำพัน เจริญสุขลาภ. (2557). สัมภาษณ์ 29 ส.ค. 2557.
อำพัน เจริญสุขลาภ. (2557). สัมภาษณ์ 3 ต.ค. 2557.