กลยุทธ์การบริหารประเด็นเพื่อผลักดันสิทธิในการแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุช
Main Article Content
Abstract
This research is a qualitative study which aims to 1) to study the situation of cooperation and resistance before enacting the National Health Act B.E. 2550 section 12, 2) to study issue management strategies and communication tactics to advocate the rights to show the intention of not receiving health services. The research methodologies are in-depth interview of 15 key information and documentary research to analyze the documents from the National Health Commission office of Thailand, related documents from the health office and documents from website.
The research results fond that the enactment of the National Health Act B.E. 2550 section 12 and ministerial regulations section 12 of the National Health Act B.E. 2550 are agreed and supported by almost every party including lawyers, doctors, nurses, Buddhist ecclesiastical sector and the general public. Only some groups of doctors disagree with and are against this law as they understand that this law gives permission to doctors to commit euthanasia.
There are three administrative strategies used by the supporters to enact the Act. They are 1) dynamic response strategy used at beginning of the promotion of the act and ministerial regulations, 2) reactive change strategy used when attacked by opponents, and 3) adaptive change strategy used when promoting ministerial regulations enactment. Moreover, there are three communicative strategies. The first is communicative strategy which can be divided into: 1.1) creating common understanding and allies strategy, 1.2) people power driving political policy strategy, and 1.3) communicative strategy by word of mouth to spread news events. The second strategy is media strategy which includes the integration of media strategy to spread the news. The third strategy is persuasive strategy which can be divides into: 3.1) expert strategy to create reliability, and 3.2) building confidence to the patient and the patience’s relative strategy.
There are two problems and obstacles in the administration. The first problem is misunderstanding of the opponents who believe that euthanasia is a right. The solution is to ask experts to explain accurate information to the opponents. The second problem is cessation of the enactment of the National Health Act B.E. 2550. The solution is a class-action lawsuit to oppress the government to enact new legistration.
Article Details
References
กวีวัณณ์ วีรกุล, ประธานคณะกรรมการสิทธิผู้ป่วยและประธานศูนย์บริรักษ์ศิริราช. (20 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
จุติพร ปริญโญกุล. (2554). กลยุทธ์การบริหารประเด็นเพื่อผลักดันพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สาขาวิชานิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์. ประธานองค์กรแพทย์ศิริราช. (20 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
ธาตรี ใต้ฟ้าพูล. (2556). หลักการวางแผนสื่อสารการตลาดเชิงกลยุทธ์. เอกสารประกอบการสอนวิชาการวางแผนกลยุทธ์และการประเมินผลเพื่อการสื่อสารแบบบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรชา อัศวธีรกุล. รักษาการผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (10 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
ประพัฒน์พงษ์ สุคนธ์. (2529). การยกเว้นความรับผิดในการทำให้ผู้ป่วยตายด้วยความสงสาร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยมหิดล, คณะสาธารณสุขศาสตร์.
ประสิทธ์ คิมประเสริฐ. สามีของผู้ป่วยระยะสุดท้าย. (22 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
พรเลิศ ฉัตรแก้ว. หัวหน้าศูนย์ชีวาภิบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย.
ไพศาล ลิ้มสถิตย์. นักวิชาการศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (14 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
ภัคคพงศ์ วงศ์คำ. นักวิชาการสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (10 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ. (2554). การวางแผนและการประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
ราตรี เฉลิมฉลิง. พยาบาลประจำศูนย์บริรักษ์ศิริราช. (20 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์
ลัญฉน์ศักดิ์ อรรฆยากร. แพทย์ประจำศูนย์ชีวาภิบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย. (18 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
วดี ภิญโญทรัพย์. (2556). กลยุทธ์การสื่อสารทางสังคมเพื่อคัดค้านการขนถ่ายถ่านหินที่บางปะกงและศรีราชา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วารี ทองจันทร์. มารดาของผู้ป่วยระยะสุดท้าย. (22 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
วิกิพีเดีย. (2555). การวิ่งเต้น. สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/การวิ่งเต้น [26 ธันวาคม 2557]
วิชาญ พรหมรินทร์. สามีของผู้ป่วยระยะสุดท้าย. (22 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
วิรัช ลภิรัตนกุล. (2552). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤตและการบริหารภาวะวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วีรมล จันทรดี. นักสังคมสงเคราะห์ประจำศูนย์ชีวาภิบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย. (18 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
ศรัณย์ ธิติลักษณ์. (2554). บทส่งท้ายภูมิคุ้มกันคอร์รัปชัน ปี พ.ศ. 2553. สืบค้นจาก http://www.bangkokbiznews.com [26 ธันวาคม 2557]
ศักดา สถิรเรืองชัย. กรรมการองค์กรแพทย์ศิริราช. (20 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2554). คู่มือผู้ให้บริการสาธารณสุข กฎหมายและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2556). ความต้องการครั้งสุดท้ายของชีวิต (Living Will). นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
เสรี วงษ์มณฑา. (2540). การประชาสัมพันธ์เชิงปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: เอ เอ็น การพิมพ์.
อรวรรณ ปลันธน์โอวาท. (2549). การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุกฤษฎ์ มิลินทางกูร. ที่ปรึกษาสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (10 กุมภาพันธ์ 2558). สัมภาษณ์.
ภาษาอังกฤษ
Cooper, L. (1960). The Rhetoric of Aristotle. NY: Appleton-Century-Crofts.
Porter, M. E. (1987). From Competitive Advantage to Corporate Strategy. Harvard Business Review, 45(2), 43-57.
Seitel, F. P. (2006). The Practice of Public Relations (10th ed.) Upper Saddle River, NJ. Prentice Hall.
Smith, R. D. (2002). Strategic Planning for Public Relations. Mahwah, New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.