การบริหารจัดการการเงินของวัดภายใต้หลักธรรมาภิบาล
Keywords:
good governanceAbstract
This article aims to study administration of fi nancial of The Buddhist temples Buddhism, in analytical way for fi nding a guideline on a system and rule development of the administration of fi nancial donation of Buddhist temples in line with good governance and for more transparency and accountability. The research fi nds administration of Buddhist temple depends on the abbot and the ministerial regulation No.2 B.E. 2511 (1968) provides merely broad scope of administration in this regard. the researcher suggests a system and rule development of the administration by a legal measure and suggests a policy measure to implement effi ciently related laws.
Downloads
References
ณดา จันทร์สม. ๒๕๕๕. รายงานวิจัยการบริหารการเงินของวัดในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. ๒๕๕๒. รายงานวิจัยเรื่องพระสงฆ์กับทรัพย์สินส่วนตัว. กรุงเทพฯ: ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทีมข่าวผู้จัดการ. ข่าวรายวัน. ผู้จัดการออนไลน์ [ออนไลน์]
ทีมข่าวมติชนรายวัน. ๒๕๕๖. ข่าวรายวัน. มติชนรายวัน. (๗ ก.ค.): ๑๙.
ธรรมปิฎก, พระ (ป.อ. ปยุตฺโต). ๒๕๓๘. พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธีรยุทธ บุญมี. ๒๕๔๑. ธรรมรัฐแห่งชาติยุทธศาสตร์กู้หายนะประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สายธาร.
ประยูร กาญจนดุล. ๒๕๓๘. คำบรรยายกฎหมายปกครอง. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประเวศ วะสี. ๒๕๔๑. แนวคิดและวาทกรรมว่าด้วยธรรมรัฐแห่งชาติในธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นไทย. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.
ปรัชญา เวสารัชช์. ๒๕๔๒. การสร้างธรรมาภิบาล (Good Governance) ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. ๒๕๔๒. ปรัชญาแห่งอุดมการณ์ทางการเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปลื้ม โชติษฐยางกูร. ๒๕๕๓. คำบรรยายกฎหมายคณะสงฆ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ผจญ อาจาโร, พระอธิการ. ๒๕๕๓. ศึกษาบทบาทของพระสงฆ์ในการบริหารวัดโดยใช้หลักธรรมาภิบาล: ศึกษาเฉพาะกรณีบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช-วิทยาลัย.
ภิรมย์ จั่นถาวร. ๒๕๔๔. รายงานการวิจัย เรื่องยุทธศาสตร์การจัดการการเงินของวัด. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. ๒๕๓๖. พระวินัยปิฎก เล่ม ๔ มหาวรรค ภาค ๑ และอรรถกถา. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. ๒๕๓๗. พระวินัยปิฎก เล่ม ๑ ภาค ๓ มหาวิภังค์ ปฐมภาค-ทุติยภาคและอรรถกถา. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
ราชญาณวิสิฐ, พระ (เสริมชัย ชยมงฺคโล). ๒๕๔๘. หลักธรรมาภิบาลและประมุขศิลป์. กรุงเทพฯ: ชัยมงคล.
ราชญาณวิสิฐ, พระ (เสริมชัย ชยมงฺคโล). ๒๕๕๓. หลักธรรมาภิบาล. ราชบุรี: มูลนิธิพุทธภาวนาวิชชาธรรมกาย.
วรพงษ์ โชติธมฺโม, พระ. ๒๕๔๙. กู้วิกฤตคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: เนติกุล.
วริศรา รัตนสมัย. ๒๕๔๓. การรับข่าวสารเพื่อสร้างความตระหนักสำนึกของประชาชนเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดสงขลา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สวัสดิ์ มานิตย์. ๒๕๔๒. ปัญหาทางกฎหมายว่าด้วยการปกครองคณะสงฆ์ : กรณีศึกษาวัดพระธรรมกาย. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. ๒๕๕๒. คู่มือการจัดระดับการกำกับดูแลองค์การภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance Rating). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. ๒๕๕๔. คู่มือไวยาวัจกร. พิมพ์ครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธ-ศาสนาแห่งชาติ.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของศูนย์พุทธศาสน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับศูนย์พุทธศาสน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว