ศึกษาการอธิบายเหตุของสถานที่และภูมินามในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่ปรากฏในตำนานเจ้าแม่สร้อยดอกหมาก
Main Article Content
บทคัดย่อ
เจ้าแม่สร้อยดอกหมากเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวอยุธยาให้ความเคารพนับถือ ตำนานเจ้าแม่สร้อยดอกหมากกลายเป็นมุขปาฐะ (เรื่องเล่า) หรือนิทานประจำถิ่นที่ร้อยเรียงพื้นที่ในบริเวณวัดพนัญเชิง และพื้นที่อื่นในพระนครศรีอยุธยาเข้าด้วยกัน บทความชิ้นนี้ศึกษาตำนานเจ้าแม่สร้อยดอกหมากในสำนวนต่าง ๆ และการอธิบายเหตุของสถานที่และภูมินามในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาผ่านตำนานเรื่องนี้
Article Details
References
กรมศิลปากร. (2542). ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
เกษรา ศรีวิเชียร. (2549). แนวทางการพัฒนาตลาดลาดชะโด อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. อยุธยาศึกษาวิชาการ. 8(1). 53-67
คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. (2544). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. คณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542.
ธนากิต. (2539). 50 นิทานไทย. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
ประคอง นิมมานเหมินท์. (2551). นิทานพื้นบ้านศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2556). คำให้การชาวกรุงเก่า. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 9. กรุงเทพฯ : บริษัท สยามเพรส แมเนจเม้นท์ จำกัด.
ศิราพร ณ ถลาง. (2557). ทฤษฎีคติชนวิทยา วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย. (ม.ป.ป.). เกาะพระ. ค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2561, จาก www.lovethailand.org/travel/th/16-พระนครศรีอยุธยา/6960-เกาะพระ.html
สายป่าน ปุริวรรณชนะ. (2556). ตำนานประจำถิ่นริมแม่น้ำและชายฝั่งทะเลภาคกลาง : ความสมานฉันท์ในความหลากหลาย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสาวลักษณ์ อนันตศานต์. (2547). ตำนานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เสาวลักษณ์ อนันตศานต์. (2549). นิทานปรัมปรากับคติชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
องค์การบริหารส่วนตำบลคานหาม อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (ม.ป.ป.). ประวัติความเป็นมา. ค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2561, จาก www.khanham.go.th/about/about01_1.php
องค์การบริหารส่วนตำบลสำเภาล่ม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (ม.ป.ป.). ประวัติความเป็นมา. ค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2561, จาก www.samphaolom.go.th/intro.php