รูปแบบและพฤติกรรมของการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองสมัยอยุธยา พ.ศ.1893-2310

Main Article Content

ธานี สุขเกษม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษารูปแบบพฤติกรรมในการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองสมัยอยุธยา และ 2) เพื่อสร้างข้อสรุปทั่วไปของรูปแบบพฤติกรรมในการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองสมัยอยุธยา วิธีการศึกษาใช้แนวทางการศึกษาตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยใช้ข้อมูลจากเอกสารชั้นต้นและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า 1) รูปแบบพฤติกรรมในการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองสมัยอยุธยาที่สำคัญ คือ การใช้กำลังพลจำนวนมากและการลอบทำร้าย 2) ข้อสรุปทั่วไปเกี่ยวกับรูปแบบพฤติกรรมในการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองสมัยอยุธยา ได้แก่ กษัตริย์ที่ถูกแย่งชิงราชสมบัติมักจะมีพระชนมายุน้อย ส่วนผู้ที่แย่งชิงอำนาจ จากกษัตริย์องค์ก่อนมักจะมีพระชนมายุไม่ต่ำกว่า 30 พรรษา ส่วนปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการแย่งชิงอำนาจสมัยอยุธยา คือ ระบบการควบคุมกำลังพล ระบบการรักษาความปลอดภัย และลักษณะทางกายภาพแวดล้อมและทำเลที่ตั้งของพระนคร

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมศิลปากร. (2514). พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา.

กรมศิลปากร. (2553). พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา.

กรมศิลปากร. (2560). พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหมอบรัดเลย์. กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2519). การเมือง-การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไทย สมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชิตพล กาญจนกิจ. (2539). การสร้างฐานอำนาจทางการเมืองของพลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (บรรณาธิการ). (2547). อยุธยา : Discovering Ayutthaya. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ณรงค์ พ่วงพิศ. (2522). “บทความวิเคราะห์ว่าด้วยการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองของผู้นำไทยระหว่าง พ.ศ.1893-2310”. วารสารประวัติศาสตร์. 4 (2) พฤษภาคม-สิงหาคม : 1-33.

ณรงค์ สินสวัสดิ์. (2521). พฤติกรรมการแย่งอำนาจในสังคมไทย. เอกสารทางวิชาการหมายเลข 49. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณรงค์ สินสวัสดิ์. (2539). การเมืองไทย : การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์.

เดชะ สิทธิสุทธิ์. (2541). การสร้างฐานอำนาจทางการเมืองในการเมืองระดับท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกลุ่มสันติธรรมในเทศบาลเมืองนครปฐม. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยรัตน์ อินทร์อ่อน. (2539). รูปแบบการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองในสมัยอยุธยา พ.ศ.189-2310. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2528). “การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางอำนาจ” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์ หน่วยที่ 10. หน้า 455-498. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2531). รัฐศาสตร์เชิงประจักษ์. กรุงเทพฯ : ธนวิชช์การพิมพ์.

ภารดี มหาขันธ์. (2527). ประวัติศาสตร์การปกครองไทย. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2558). พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1-4. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ยีน ชาร์ป. (2529). อำนาจและยุทธวิธีไร้ความรุนแรง. ชัยวัฒน์ สถาอานันท์และคมสัน หุตะแพทย์ (แปล). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2549). “ความชอบธรรมทางการเมือง (Political Legitimacy) ของผู้ใช้อำนาจรัฐ” ค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2561, จาก http://www.manager.co.th/Daily/viewnews.aspx? NewsID=9490000028434

วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์. (มปป.). ความขัดแย้งและการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สมเกียรติ วันทนะ. (2561). โลกที่คิดว่าคุ้นเคย : ความคิดทางการเมืองไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.1893-2310. กรุงเทพฯ : ชีโน พับลิชชิ่ง แอนด์ แพคเกจจิ้ง.

สุจิต บุญบงการ. (2521). การเมืองเปรียบเทียบ : ปัญหาและแนวคิด. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Bell, Daniel F. (1973). The Coming of Post-Industrial Society. New York : Basic Books.

Connolly, William E. (1974). The Terms of Political Discourse. Lexington : D.C. Health.

Dahl, Robert A. (1983). Modern Political Analysis. New York : Prentice-Hall.

Gamson, William A. (1968). Power and Discontent. Illinois : The Dorsey Press.

Lasswell, Harold C. (1985). Power and Society : A Framework for Political Inquiry. London : Routledge.

Mills, C. Wright. (1959). Sociological Imagination. London : Oxford University Press.

Russell, Bertrand. (1992). Power : A New Social Analysis. London : Routledge.

Schein, Edgar. (1965). Organization Psychology. New York : Prentice-Hall.

Schwarzmantel, John. (1987). Structure of Power : An Introduction to Politics. New York : St. Martin’s Press.

Sherman, Arnold K. (1987). The Social Bases of Politics. Belmont, C.A. : Wadsworth.

Wagner, Edwards and Wagner, Harrison. (eds.). Political Power : A Reader in Theory and Research. New York : The Free Press.

Wagner, Harrison. (1969). “The concept of power and the study of politics” in Roderick Bell, David V.

Weber, Max. (1947). The Theory of Social and Economic Organization. A.M. Henderson and Talcott Parsons (trans). New York : The Free Press.

Wrong, Danis H. (1979). Power : Its Forms, Bases and Used. New York : Harper and Row.