ลวดลายพรรณพฤกษาประดับทวารบาลไม้แกะสลัก วัดพระศรีสรรเพชญ พระนครศรีอยุธยา ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากเครื่องลายครามจีน

Main Article Content

วรวิทย์ สินธุระหัส

บทคัดย่อ

รูปแบบลวดลายพรรณพฤกษาของทวารบาลประดับสถูปวัดพระศรีสรรเพชญ พระนครศรีอยุธยา กำหนดอายุงานช่างน่าจะราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ช่วงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นต้นมา ลวดลายที่พบจะมีทั้งลวดลายที่มาจากศิลปะในเครื่องลายครามจีน ลวดลายอย่างศิลปะไทยผสมผสานกันและบางส่วนได้แนวคิดมาจากศิลปะล้านนา การนำเข้ามาในงานศิลปะเครื่องลายครามจีน คงจะเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ด้านการค้า การทูตระหว่างจีนกับกรุงศรีอยุธยา ที่สืบเนื่องมาแต่ยุคต้นกรุง ซึ่งถ่ายทอดสู่แรงบันดาลใจให้ช่างประดับคิดผลงานให้เป็นรูปแบบศิลปะอยุธยาในระยะนี้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรรณรส ศรีศรีสุทธิวงศ์. (๒๕๕๒). กรัณฑมงกุฎเทวดาศิลปะสุโขทัยและพระพุทธรูปทรงเครื่องศิลปะอยุธยาตอนกลาง. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เด่นดาว ศิลปานนท์. (๒๕๖๐). จิตรกรรมบนแผ่นชินบุผนังกรุพระสถูปประธาน วัดพระศรีสรรเพชญ, นิตยสารศิลปากร. ปีที่ ๖๐ (ฉบับที่ ๒), ๑๑๗ - ๑๒๗.

ทวารบาลประดับซุ้มพระสถูปวัดพระศรีสรรเพชญ บานที่ ๑ องค์ซ้าย. (๒๕๖๑). [ภาพถ่าย]. พระนครศรีอยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

ทวารบาลประดับซุ้มพระสถูปวัดพระศรีสรรเพชญ บานที่ ๑. (๒๕๖๑). [ภาพถ่าย]. อยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

ประทีป เพ็งตะโก. (๒๕๔๐). กระเบื้องเชิงชายสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และธันยกานต์ วงษ์อ่อน. (๒๕๖๒). เครื่องปั้นดินเผาจีนและเบญจรงค์ที่พบใน พระราชวังหลวงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การศึกษาเศษภาชนะที่พบจากการขุดค้นโดยกรมศิลปากร เปรียบเทียบกับศิลปวัตถุในสถานสะสมเอกชน. กรุงเทพฯ: หจก. พระรามครีเอชั่น.

พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา เล่ม ๑ ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด). (๒๕๐๔). กรุงเทพฯ: ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์.

ภาพลายครามถอดแบบจากลวดลายช่อดอกไม้แกะสลักประดับรอบรัศมีของทวารบาลองค์ซ้าย บานที่ ๑. (๒๕๖๒). [ภาพถ่าย]. อยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

ภาพลายครามถอดแบบจากลวดลายพรรณพฤกษาแกะสลัก (ด้านขวา) ประดับรอบรัศมีของทวารบาลองค์ขวาบานที่ ๒. (๒๕๖๒). [ภาพถ่าย]. พระนครศรีอยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

ภาพลายครามถอดแบบจากลวดลายพรรณพฤกษาแกะสลัก (ด้านขวา) ประดับรอบรัศมีของทวารบาลองค์ซ้าย บานที่ ๒. (๒๕๖๒). [ภาพถ่าย]. พระนครศรีอยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

ภาพลายครามถอดแบบจากลวดลายพรรณพฤกษาแกะสลัก (ด้านขวา) ประดับรอบรัศมีของทวารบาลองค์ซ้ายบานที่ ๒. (๒๕๖๒). [ภาพถ่าย]. พระนครศรีอยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

ภาพลายครามถอดแบบจากลวดลายพรรณพฤกษาแกะสลัก (ด้านซ้าย) ประดับรอบรัศมีของทวารบาลองค์บานที่ ๒. (๒๕๖๒). [ภาพถ่าย]. พระนครศรีอยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

ภาพลายครามถอดแบบจากลวดลายพรรณพฤกษาแกะสลัก (ด้านซ้าย) ประดับรอบรัศมีของทวารบาลองค์ขวาบานที่ ๒. (๒๕๖๒). [ภาพถ่าย]. พระนครศรีอยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

ภาพลายครามถอดแบบจากลวดลายพรรณพฤกษาแกะสลักประดับรอบรัศมีของทวารบาลองค์ซ้าย บานที่ ๑. (๒๕๖๒). [ภาพถ่าย]. พระนครศรีอยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

ภาพลายครามถอดแบบจากลวดลายพรรณพฤกษาแกะสลักประดับรอบรัศมีของทวารบาลองค์ซ้าย บานที่ ๒. (๒๕๖๒). [ภาพถ่าย]. พระนครศรีอยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง. (๒๕๕๓). พระพุทธปฏิมาสยาม. กรุงเทพฯ: มิวเซียมเพรส.

วัดพระศรีสรรเพชญ พระนครศรีอยุธยา. (๒๕๕๙). [ภาพถ่าย]. พระนครศรีอยุธยา: วรวิทย์ สินธุระหัส.

สันติ เล็กสุขุม. (๒๕๕๐). ความสัมพันธ์จีน – ไทยโยงใยในลวดลายประดับ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.

สันติ เล็กสุขุม. (๒๕๕๓). พัฒนาการของลายไทย : กระหนกกับเอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.

สุเนตร ชุตินธรานนท์ และคณะ. ๒๕๔๓. เครื่องทองกรุงศรีอยุธยา อมตะศิลป์แผ่นดินสยาม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โมทิฟ.

อาษา ทองธรรมชาติ. (๒๕๕๗). ที่มาและพัฒนาการของลายดอกโบตั๋นในงานศิลปกรรมไทย. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.