อิทธิพลของปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ของบุคลากรธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงอิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ของบุคลากรธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มประชากรคือบุคลากรธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก จำนวน 396 ราย เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (Mean=3.60, S.D.=0.65) 2) ระดับของการจัดการความรู้ของบุคลากรธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (Mean=3.59, S.D.=0.67) 3) อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงส่งผลต่อการจัดการความรู้ เรียงตามลำดับ ดังนี้ การตระหนักถึงความเป็นปัจเจกบุคคล
(β =0.34, p-value = 0.05) การกระตุ้นทางปัญญา (β =0.32, p-value = 0.05) การสร้างแรงบันดาลใจ (β =0.20, p-value = 0.05) ร่วมกันอธิบายการจัดการความรู้ และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์
(β =0.14, p-value = 0.05) โดยมีค่าพยากรณ์ร้อยละ 27 (R Square=0.27) ส่วนอีกร้อยละ 63 นั้นอธิบายได้ด้วยปัจจัยอื่น องค์การควรพัฒนาการสร้างแรงจูงใจและการนำความรู้ไปใช้ให้กับบุคลากรของธุรกิจก่อสร้างกลุ่มอายุ 25-30 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งงานระดับพนักงาน เพื่อให้ประสิทธิภาพด้านการจัดการความรู้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำบทความทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อนเท่านั้น
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.(2565). รายงานประจำปี ข้อมูลนิติบุคคล. สืบค้นจาก
https://www.dbd.go.th/dbdweb56/news
กัญญาวีณ์ โมกขาว.(2559). โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การสร้างความรู้กับ
ผลการดำเนินงานการจัดการนวัตกรรมของหอผู้ป่ายโรงพยาบาลชุมชน. วารสารพยาบาลศาสตร์และสาธารณสุข. 27(3), 1-211. สืบค้นจาก http://library.christian.ac.th /thesis/document/T041612.pdf
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2555). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 20).
กรุงเทพฯ: บริษัทธรรมสาร จำกัด.
เกตนภัส จิรารุ่งชัยกุล และ สุรสิทธิ์ อุดมธรรมวงศ์. (2563). ปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินงาน
อุตสาหกรรมก่อสร้าง ขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี. งานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยรังสิต, 63(1), 1-9. สืบค้นจาก https://rsucon.rsu.ac.th /files/proceedings/nation2020/NA20-109.pdf
ชยพล อึงบวรตระกูล. (2563). ความเสี่ยงต่อการบริหารโครงการก่อสร้างอาคารในมุมมองผู้บริหารและ
ควบคุมการก่อสร้าง.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชารวี บุตรบำรุง, ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, และสมภูมิ แสวงกุล. (2556). อิทธิพลของภาวะผู้นำการ
เปลี่ยนแปลง การจัดการความรู้และนวัตกรรมที่มีต่อผลการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์. วารสารสมาคมนักวิจัย,18(3), 80-93. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org
เดชา เดชะวัฒนไพศาสล, กฤษยา นุ่มพยา, จีรภา นวลลักษณ์, และชนพัฒน์ ปลื้มบุญ. (2557). การศึกษา
เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจนเนอเรชั่นวายในมุมมองต่อคุณลักษณะของตนเองและความคาดหวังต่อคุณลักษณะของเจนเนอเรชั่นอื่น. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 36(141), 1-17. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org › article › download
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2565). รายงานประจำปี. สืบค้นจาก https://www.set.or.th/th/about/
overview/report/annual-report
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2565). รายงานแนวโน้มธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2565. สืบค้นจาก
https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/BLP
วนิดา ธนากรกุล, ศลิษา ธาระสวัสดิ์, ธนะเมศฐ์ เชาว์จินดารัชต, กัญญาภัค เงินอินต๊ะ, และวรยา ร้ายศรี
(2561). รูปแบบการถ่ายทอดความรู้สําคัญยิ่งยวดภายในและภายนอกศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ผ่านนิทรรศการ. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 5(1), 1-13.
สืบค้นจาก https:// he02.tci-thaijo.org/Wiig%2C+K.M.%2C1993
วริษฐ์ ทองจุไร และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความยืดหยุ่น
เชิงกลยุทธ์ ศักยภาพด้านกระบวนการจัดการความรู้และความสามารถด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงต่อประสิทธิผลขององค์กร. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ, 8(3), 1-18. สืบค้นจาก https:// www.he02.tci-thaijo.org/ Journal/article/view/48958
สมนึก เพชรช่วย และสมเดช สิทธิ์พงค์พิทยา. (2560). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การจัดการความรู้
องค์การแห่งการเรียนรู้ และพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมในโรงเรียนสังกัดสำนักงาน
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1,2,3,4,และ 6. วารสารสมาคมนักวิจัย, 22(1),193-203.
สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org
สุธรรม สิกขาจารย์, ทัศนีย์ ช่อเทียนทิพย์, วิรัตน์ มณีพฤกษ์, และนำพล ม่วงอวยพร. (2562). การทบทวน
แนวคิดการจัดการความรู้ในองค์กร A revisit of concepts of knowledge management in organizations. วารสารวิชาการ การจัดการภาครัฐและเอกชน,1(1). 13-25. สืบค้นจาก https://so02.tci- thaijo.org/index.php/appm/article/download/253729
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2550). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ
บริษัทเฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). ผลิตภัณฑ์มวลรวมโดยในประเทศสืบค้น
จาก https://www.nesdc.go.th/main. php?filename=qgdp_page
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). ข้อมูลสถิติที่สำคัญ สถิติแรงงาน. สืบค้นจาก from http://statbbi.
nso.go.th /staticreport/page/sector/th/02.aspx:
Abidali, A. F., & Harris, F. (1995). A methodology for predict company failure in the construction
Industry. Construction Management and Economics, 13(3), 189-196. Retrieved from https://www.semanticscholar.org/paper/A-methodology-for-predicting
Adogbo, K.J., & Kolo, B. A. (2017). Assuagement of organizational leadership for knowledge
management practice in the Nigerian construction industry. Journal of Construction Project Management and Innovation, 7(1),1977-1994. Retrieved from https://journals.uj.ac.za/index.php/JCPMI/article/view/148/139
Aldulaimi, S. H. (2015). The impact of leadership, organizational culture, and strategy on
knowledge management in GCC countries. Information and Knowledge Management, 5(6), 17-27. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/305209270
Bass, B. M. (1985). Leadership and Performance beyond Expectations. New York Free Press,
Bass, B. M., & Avolio, B. J. (2004). Multifactor leadership questionnaire: Manual and Sampler :
Mind Garden. Journal of Leadership. 3(2),1-14. Retrieved from https:// dx.doi.org/10.1207/s1532754xjprr1602_2
Burns, J. M. (1978). Leadership. New York: Harper and Row. Journal of Philosophy, 3(3), 1-18.
Retrieved from https:// www.scirp.org/(S(i43dyn45teexjx455qlt3d2q
Carrillo P. M., & Aighassani A. M., & Anumba C. J. (2014). Knowledge management strategy for
construction: key i.t. and contextual issues. Construction Informatics Digital Library. 2(2), 1-12. Retrieved from http://itc.scix.net/ p paper w78-2000
Crawford, C. B. (2005). Effects of transformational leadership and organizational position on
knowledge management. Journal of Knowledge Management, 9(6), 6-16.
Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/220363595
Gathii, R. W. & Obonyo, P. K. (2018). Transformational leadership, knowledge management and
performance of telecommunication firms in Kenya. International Journal of Business and Social Science, 9(2), 20-38. Retrieved from https://ijbssnet.com/journals/Vol_9_No_2_February_2018/5.pdf
Hesham, S. M. (2011). Development of KM model for knowledge management implementation
and application in construction projects. Engineering and Physical Sciences, e thesis,1-294. Retrieved from https://www. etheses.bham.ac.uk/id/print/1307
Hoseini, S. A., & Nikabadi, M. S., & Seyed, A. M. (2016). The role of transformational leadership
and knowledge management processes on the rate of organisational innovation. International Journal of Knowledge Management Studies, 1(1), 64-75. Retrieved
from https://www.elsevier.es › pie=S164599111300039X
Marquardt, M. J. (1996). Building the learning organization: a system approach to quantum
improvement and global success. Open Access Library Journal, 8(5), 1-19.
Sahban, M. A. (2019). The transformational leadership, knowledge management and perceived
organizational support in predicting innovation capability. Polish Journal of Management Studies, 20(1), 372-381. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/338478143
Sayyadi, M. & Provitera M. J. (2019). The transformational leader's role in organizational design
and knowledge management performance. International Leadership Journal, 11(3), 62–82. Retrieved from http://internationalleadershipjournal.com/wp-content/uploads/2019
Wiig, K. M. (1993). Knowledge management foundations: thinking about thinking: how people
and organizations create, represent, and use knowledge. Schema Press (Limited). Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/31672277
Zywiotek, J. C., & Tucmena, E. R., & Isac, N. C., & Tucmena, A. L. (2022). Nexus of of
transformational leadership, employee adaptiveness, knowledge sharing, and employee creativity. Sustainability 2022, 14(18), 116-127. Retrieved from https://doi.org/10.3390/su141811607