กลยุทธ์การแข่งขันของการท่องเที่ยวเชิงอาหารพื้นถิ่นภาคใต้ของไทย ภายใต้วิกฤติการณ์การระบาดของโควิด-19

Main Article Content

วันเพ็ญ ควรสมาน
ประภัสสร วิเศษประภา
ภูชิตต์ ภูริปาณิก

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคการท่องเที่ยวเชิงอาหารพื้นถิ่นภาคใต้ของไทย ภายใต้วิกฤติการณ์การระบาดของโควิด-19  และ เสนอแนะกลยุทธ์การแข่งขันของการท่องเที่ยวเชิงอาหารพื้นถิ่นภาคใต้ของไทย ภายใต้วิกฤติการณ์การระบาดของโควิด-19  ผ่านกระบวนการ TOWS Matrix ใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างในการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง นำมาพัฒนาเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของการท่องเที่ยวเชิงอาหารพื้นถิ่นภาคใต้ของไทย สำหรับนักท่องเที่ยว จำนวน 400 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วย SWOT Analysis และกำหนดกลยุทธ์เพื่อสร้างความอยู่รอดให้กับการท่องเที่ยวเชิงอาหารพื้นถิ่นภาคใต้ของไทย ผ่านกระบวนการ TOWS Matrix ได้เป็นกลยุทธ์ทางเลือก 4 ประการ ได้แก่ กลยุทธ์เชิงรุก กลยุทธ์เชิงแก้ไข กลยุทธ์เชิงป้องกัน และกลยุทธ์เชิงรับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562). สถิตินักท่องเที่ยวภายในประเทศ Q1-Q4 ปี 2562 (ภาคใต้). สืบค้นจาก https://www.mots.go.th/News-view.php?nid=11908

กรุงเทพธุรกิจ. (2563). ททท. ชวนคนไทยอิ่มฟินกับ ‘ล่องกินถิ่นใต้. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiz news.com/lifestyle/895099

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 – 2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกษา.

เชียงใหม่นิวส์. (2560). ดันเมืองไทย ขึ้นแท่น”ฮับ” เที่ยวเชิงอาหาร. สืบค้นจาก https://www.chiangmai news.co.th/page/archives/616781/

พิบูล ทีปะปาล. (2551). การจัดการเชิงกลยุทธ์ = Strategic management. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

มติชนออนไลน์. (2564). โควิดกระทบ! โรงแรมภาคใต้ ปิดให้บริการ 90% นักท่องเที่ยวหาย ยอดเข้าพัก พ.ค.เหลือ1%. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th /economy/news_2742023

วันเพ็ญ ควรสมาน และภูชิตต์ ภูริปาณิก. (2564). การศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารพื้นถิ่นภาคใต้ มาเลเซียและสิงคโปร์ และการพัฒนาระบบข้อมูลทางการตลาดสำหรับผู้ประกอบการนำเที่ยว. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, กรรณิการ์ สุขเกษมม โศภิต ผ่องเสรี, และถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์. (2551). แบบจำลองสมการโครงสร้าง การใช้โปรแกรม LISREL, PRELIS และ SIMPLIS (เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณที่กำลังเป็นที่นิยมกันมาก). กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดสามลดา.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2533). การสื่อสารกับสังคม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ. (2560). Foodie Food Tourism Trend 2017. Retrieved from http://etatjournal .com/web/menu-read-tat/menu-2017/menu-12017/756-12017-foodie

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การ มหาชน). (2559). ใส่ใจไปเที่ยวกับ อพท. การท่องเที่ยวเชิงอาหาร. กรุงเทพฯ: บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำกัด.

Adi, I. N. R., Utama, M. S., Budhi, M. K. S., & Purbadharmaja, I. B. P. (2017). The role of government in community based tourism and sustainable tourism development at Penglipuran Traditional Village—Bali. IOSR Journal of Humanities and Social Science 22(6), 15-20.

Assaker, G. (2014). Examining a hierarchical model of Australia’s destination image. Journal of Vacation Marketing, 20(3), 195-210.

Florek, M. (2005). The country brand as a new challenge for Poland. Place branding, 1(2), 205-214.

Hanafiah, M. H., Jamaluddin, M. R., & Zulkifly, M. I. (2013). Local community attitude and support towards tourism development in Tioman Island, Malaysia. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 105, 792-800.

Humphrey, A. S. (2005). SWOT analysis. Long Range Planning, 30(1), 46-52.

Kock, F., Josiassen, A., & Assaf, A. G. (2016). Advancing destination image: The destination content model. Annals of tourism research, 61, 28-44.

Martín-Santana, J. D., Beerli-Palacio, A., & Nazzareno, P. A. (2017). Antecedents and consequences of destination image gap. Annals of tourism research, 62, 13-25.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

Stylidis, D., & Cherifi, B. (2018). Characteristics of destination image: visitors and non-visitors’ images of London. Tourism Review. 73(1), 56-67.

UNWTO. (2017). Second Global Report on Gastronomy Tourism. Retrieved from

https://www.e-unwto.org/doi/pdf/10.18111/9789284418701

Weihrich, H. (1993). Daimler‐Benz′s Move Towards The Next Century with The Tows Matrix. European Business Review, 93(1), 4.

Wheelen, T. L., & Hunger, J. D. (2002). Strategic management and business policy. Upper Saddle River, N.J: Prentice Hall.

Yamane, T. (1967). Statistics, An Introductory Analysis (2nd Ed.), New York: Harper and Row.