ทฤษฎีนวัตกรรมนำพอาชญากรรม

Main Article Content

ปรเมศวร์ กุมารบุญ

บทคัดย่อ

                    บทความนี้เป็นการนำเสนอแนวคิด เพื่อตั้งข้อเสนอทฤษฎีบทอาชญาวิทยาใหม่ชื่อว่า ทฤษฏีนวัตกรรมนำพาอาชญากรรม นำปรากฏการณ์ในสังคมปัจจุบันมาตั้งเป็นข้อเสนอทฤษฎีบท เพื่อใช้เป็นแบบจำลองเชิงแนวคิด อธิบายปรากฏการณ์ และทำนายปรากฏการณ์ที่จะเกิดขึ้น เมื่อมีนวัตกรรมใหม่ในสังคมแล้วอาชญากรร่วมสมัยนำนวัตกรรมนั้น มาใช้ประกอบอาชญากรรมในแต่ละประเภทได้ผลสำเร็จ จนอาชญากรเกิดการยอมรับนวัตกรรมเหล่านั้น อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมแต่ละประเภทที่นวัตกรรมนั้นสนับสนุนการประกอบอาชญากรรมจะเติบโตกว้างขวางขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1. เนชั่นทีวี (2018). "บิ๊กโจ๊ก" โวสถิติเเก๊งคอลเซ็นเตอร์ลด หลังกวาดล้างเข้ม. สืบค้นเมื่อ 12 เมษายน2561. เข้าถึงได้จาก http://www.nationtv.tv/main/content/378617419.

2. พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2559). ปรัชญาสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ. บางกอกบล็อก.

3. พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว (2529). ศาสตร์แห่งการวิจัย. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

4. ยาใจ พงษ์บริบูรณ์. (2553). การศึกษาแบบกรณีศึกษา. Journal of Education Khon Kaen University. 33(4), 42-50

5. รัตนะ บัวสนธ์. (2560). ปรัชญาวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

6. สุภาพร รัศมีรัถาธรรม.(2545). พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ศึกษากรณีมาตรการในการดำเนินการเกี่ยวกับเงินสด. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

7. Beam. (2017). โจรลักพาตัวในอินเดียเรียกค่าไถ่เป็น Bitcoin. Siamblockchain. สืบค้นเมื่อ
12 กรกฎาคม 2560. เข้าถึงได้จาก https://siamblockchain.com/2017/07/05/indian-kidnappersdemand-bitcoin-ransom.

8. Malwarebytes, TechAdvisor. (2018). Dark Web คืออะไร? อธิบายแบบเข้าใจง่าย. Thaicert. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2560. เข้าถึงได้จาก https://www.thaicert.or.th/newsbite /2017-07-26-03.html.

9. Van Dalen, D.B. (1980). Understanding Educational Research: An introduction. British
Journal of Educational Studies.28(2):153-155