การตรวจสอบลายมือเขียนที่ปรากฏในเอกสาร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การตรวจสอบเอกสารที่สงสัยว่าเกิดการปลอมแปลงเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์ที่ช่วยคลี่คลายในคดีอาชญากรรมต่างๆ เช่น การตรวจพิสูจน์ลายมือเขียน ลายมือชื่อ ร่องรอยการขูดลบ แก้ไข ต่อเติม เปลี่ยนแปลงข้อความในเอกสารต่างๆ การตรวจรอยตราประทับแม่พิมพ์ เครื่องหมายทางการค้า ธนบัตรปลอม หรือเอกสารสำคัญต่างๆ เช่น หนังสือพินัยกรรม โฉนดที่ดิน หนังสือเดินทางเป็นต้น การตรวจพิสูจน์ลายมือเขียนที่ปรากฏในเอกสารใช้หลักการตรวจเปรียบเทียบซึ่งมีรูปแบบการปฏิบัติที่หลากหลาย โดยบทความนี้มีวัตถุประสงค์เสนอแนวทางการตรวจสอบลายมือเขียนที่ปรากฎในเอกสารรูปแบบหนึ่งที่สามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ตรวจสอบลายมือเขียนที่ปรากฎในเอกสาร
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ถิอว่าเป็นข้อคิดเห็นและความรั้บผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ก่อนเท่านั้น
References
2. สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม. (2560). พระราชบัญญัติการให้บริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ.2559 คู่มือการให้บริการด้านนิติวิทยาศาสตร์. สืบค้นวันที่ 23 กันยายน 2560 จาก https:// www.cifs.moj.go.th/main/images
/document/CifsMan.pdf
3. สุรพล จันทร์สมศักดิ์. (2555). การศึกษาความเครียดที่มีผลต่อการลงลายมือเขียนเพื่อใช้เป็นตัวอย่างในการตรวจพิสูจน์. Veridian E-Journal, SU 5(2), 787-801.
4. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2559). พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499. สืบ ค้นวันที่ 22 กันยายน 2560 จาก https://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%bb06/%b b06-20-9999-update.pdf
5. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. (2542). ระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์การขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้เชี่ยวชาญของศาลและการขอแต่งตั้งเป็นผู้ชำนาญการพิเศษของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตำรวจ.
6. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). ปลอมแปลง. สืบค้นวันที่ 22 กันยายน 2560 จาก https://www.roy in.go.th/dictionary/
7. Desai, B., & Mavarkar, A. (2015). H2 factor analysis of handwriting-an approach. Vignettes of Research, 3(1), 16-25.
8. Harrison, D., Burkes, T.M., & Seiger, D.P. (2009). Handwriting examination: Meeting the challenges of science and the law. Forentic Science Communications, 11(4).
9. Srihari, S.N., Cha, H., Arora, H., & Lee, S. (2002). Individuality of handwriting. Journal of Forensic Sciences Forensic, 47(4), 856-872.
10. Srihari, S.N., Chen, G., Xu, Z., & Hanson, L. (2015). Studies in Individuality: Can students, teachers and schools be determined from children’s handwriting?. Computational Forensics, 20-30.
11. Srihari, S.N., Meng, U., & Hanson, L. (2016). Development of individuality in children's handwriting. Journal of Forensic Sciences Forensic, 61(5), 1292-1300.
12. Upadhyay, S., & Singh, J. (2017). Estimation of age through handwriting characteristics in female writers. Journal of Science & Technology, 10(13), 1-8.
13. Zhang, B., Srihari, S.N., & Lee, S. (2003). Individuality of handwritten characters. Journal of Forensic Sciences, 47(4), 1-17.