การอธิบายพฤติกรรมเบี่ยงเบน Autoerotic ด้วยทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของเอเคอร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การจงใจกระทำต่อร่างกายเพื่อกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกทางเพศในตนเอง (Autoerotic) ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นบนส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายก็ได้ โดยอาจมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดอันตรายหรือ
เสียชีวิตได้หากมีพฤติกรรมหรือการกระทำที่เบี่ยงเบนออกไปจากปกติ ดังนั้น ความเบี่ยงเบนของการสำเร็จความใคร่ด้วยตัวเอง (Autoerotic Deviance) จึงเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศแบบหนึ่งที่
แสดงออกไปอย่างไม่เหมาะสมและเสี่ยงอันตราย เช่น การมีพฤติกรรม Autoerotic asphyxia (AEA) ซึ่งในสังคมโดยทั่วไปมักจะไม่ได้รับรู้เรื่องราวของพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศประเภทนี้ เนื่องจากมีการ
ปิดบังจากญาติผู้เสียชีวิตเพราะความอับอายถ้าต้องเปิดเผยสาเหตุของการเสียชีวิต หรือจากการสืบสวนเบื้องต้นที่ผิดพลาดจากเจ้าหน้าที่จึงมักสรุปสาเหตุส่วนใหญ่เป็นการฆ่าตัวตายทำให้สังคมไม่ได้รับทราบถึงสาเหตุและปัญหาของความเบี่ยงเบนในลักษณะนี้ที่แท้จริง จึงเกิดการศึกษาถึงพฤติกรรมความเบี่ยงเบนของ Autoerotic Deviance ว่าสามารถจะนำเอาทฤษฎีทางสังคมวิทยามาใช้เพื่ออธิบายพฤติกรรม ตลอดจนสาเหตุและกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของเอเคอร์ (Aker) เพราะเนื่องจากทฤษฎีนี้ สามารถอธิบายพฤติกรรมอาชญากรรมต่างๆ ได้ครอบคลุมเกือบทุกประเภท รวมทั้งพฤติกรรมความเบี่ยงเบน
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ถิอว่าเป็นข้อคิดเห็นและความรั้บผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ก่อนเท่านั้น
References
2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,รัฐศาสตร์.พฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ.สืบค้นจาก
http://www.polsci.chula.ac.th/sumonthip/devian-sex.htm[visited Oct2,2006]
3. พรชัย ขันตี,ธัชชัย ปิตะนีละบุตรและอัศวิน วัฒนวิบูลย์.ทฤษฎีและงานวิจัยทางอาชญาวิทยา.
กรุงเทพมหานคร:บุ๊คเน็ท,2543.
4.อัณณพ ชูบ ารุง.ทฤษฎีอาชญาวิทยา.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์,2527.
Dawn Smitley. Social Learning Theory as an Explanation of Autoerotic Deviance.
Available fromhttp://www.deviantcrimes.com/educationindex.htm [visited
Sep20,2006]
5. MistressSiam.Breath control play กิจกรรมอันตรายที่ควรรู้. Available From
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=bdsm&month
=01-2010&date=12&group=1&gblog=7[visited Oct 19,2016]
6. North Carolina Wesley College.Learning Theories of Crime. Available From
http://faculty.ncwc.edu/toconnor/428/428lect20.htm[visited Sep2,2006]
7. Resnik,H. Eroticized repetitive hangings :A form of self-destructive behavior. American Journal ofPsychotherapy,26,1972.
8. Wikipedia.Autoerotic fatality. Available From http://en.wikipedia.org/wiki/Autoerotic_fatality[visited Jan20,2015]