การศึกษาพฤติกรรมการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนผ่านบทละครเรื่อง “เลือดข้นคนจาง”
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ต้องการนำเสนอประเด็นพฤติกรรมการกระทำความผิดและพฤติกรรมเบี่ยงเบนของเด็กและเยาวชนที่ถูกสร้างขึ้น รวมทั้งนำเสนอในสื่อความบันเทิงรูปแบบละครของไทยเรื่องเลือดข้นคนจาง โดยนำทฤษฎีทางอาชญาวิทยามาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น สะท้อนภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ผลการศึกษาพบว่า การมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนของเด็กและเยาวชนอันเนื่องมาจากสาเหตุสำคัญ อาทิ ปัญหาจากครอบครัว การขาดพันธะผูกพัน หรือสภาวะกดดันจากสิ่งแวดล้อมจนเกิดเป็นภาวะล่าถอยหาทางออกของปัญหาด้วยตัวของเด็กเองไม่ได้ นำไปสู่แรงกดดันที่สะสมมากขึ้น และกลายเป็นการกระทำความผิดขึ้นมาส่งผลกระทบเชิงลบออกไปเป็นวงกว้าง ดังนั้นเพื่อเป็นการลดทอนปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจึงเป็นหน้าที่ของทุกภาคส่วนโดยต้องเริ่มจากหน่วยที่เล็กที่สุดนั่นคือครอบครัวที่จะร่วมกันป้องกันแก้ไขปัญหาและต้องให้ความสำคัญกับประชากรกลุ่มที่เป็นเด็กและเยาวชนให้มากขึ้น
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ถิอว่าเป็นข้อคิดเห็นและความรั้บผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ก่อนเท่านั้น
References
2. กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา. (2559). คำพิพากษาย่อสั้น คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 12983/2558. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2561. เข้าถึงได้จาก https://deka.in.th/view-590210.html.
3. กรุงเทพธุรกิจ. (2561). กระแส “ออเจ้า”. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2561. เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/644356
4. จารีศรี กุลศิริปัญโญ. (2558). พฤติกรรมวัยรุ่นติดเกมออนไลน์จนก่อคดีลักทรัพย์: กรณีศึกษาอำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 5(3), 16-23.
5. จักรทิพย์ ชัยจินดา. (2553). มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายของเด็กและเยาวชน. งานวิจัยหลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.). วิทยาลัยการยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม.
6. ญาณิศชา สงค์อยู่. (2559). สาเหตุและพฤติกรรมการกระทําผิดของเด็กและเยาวชน: กรณีศึกษา สาเหตุและพฤติกรรมการกระทําผิดของเด็กสก๊อย. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต, ปทุมธานี.
7. นัทธี จิตสว่าง. (2555). ความหมายและขอบเขตของการป้องกันอาชญากรรม. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2561. เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/419100
8. พนม เกตุมาน. (2550). พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2561. เข้าถึงได้จาก https://www.psyclin.co.th/new_page_78.htm
9. พรชัย ขันตีและคณะ. (2558). ทฤษฎีอาชญาวิทยา: หลักการ งานวิจัยและนโยบายประยุกต์. กรุงเทพฯ: เจริญการพิมพ์.
10. พิมลพรรณ อิศรภักดี. (2560). ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนไปอย่างไรในกว่า 20 ปีที่ผ่านมา. วารสาร ประชากรและการพัฒนา. 37(4), 6-7.
11. โพสต์ทูเดย์. (2561). กระแส “เลือดข้นคนจาง” บนโลกโซเชียล. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2561. เข้าถึงได้จาก https://www.posttoday.com/it/567644
12. ศศิวิมล ทองกลม. (2553). ดัชนีชี้วัดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการกระทำผิดของเด็กและเยาวชน. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.
13. สัณหกฤษณ์ บุญช่วย. (2559). การศึกษาพฤติกรรมเบี่ยงเบนและการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนผ่าน สื่อบันเทิงไทย: กรณีศึกษาละครชุดฮอร์โมน ฤดูกาลที่ 3. ในรายงานการประชุมวิชาการ ระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ครั้งที่ 8. วันที่ 31 มีนาคม - 1 เมษายน 2559. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม.
14. สุณีย์ กัลยะจิตร. (2555). กระบวนการเข้าสู่การกระความผิดในคดีชีวิตและร่างกายของเด็กและเยาวชนชาย. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
15. สุดสงวน สุธีสร. (2558). อาชญาวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
16. สุพัตรา ยอดกุล. (2558). ความผิดฐานมีเพศสัมพันธ์ในเครือญาติ (Incest). วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขากฎหมายอาญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี.
17. สุมนทิพย์ จิตสว่าง. (2556). กระบวนการดำเนินการป้องกันและปราบปารม สืบสวนสอบสวนและการดำเนินคดีของตำรวจเกี่ยวกับคดีเด็กและเยาวชน.วารสารรามคำแหง ฉบับนิติศาสตร์. 2(1), 1-24.
18. สุวาทินี วงษ์อาทิตย์. (2552). สาเหตุการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนหญิงในลักษณะความผิด เกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ศึกษาเฉพาะกรณีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้าน ปราณี.สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารงานยุติธรรม คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี.
19. แสน กีรตินวนันท์. (2557). กระบวนการสร้างความเข้มแข็งของสวัสดิการชุมชนบนอัตลักษณ์ความเป็นจีนกรณีศึกษาชุมชนโบ๊เบ๊. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารสังคม คณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี.
20. Siegel , L.J. (2017). Criminology: The Core. Boston: Cengage Learning.