การสร้างสรรค์เพลงช้าเรื่องมงคลสูตร
คำสำคัญ:
การสร้าางสรรค์, เพลงช้า, มงคลสูตรบทคัดย่อ
การสร้างสรรค์เพลงช้าเรื่องมงคลสูตร เป็นงานวิจัยสร้างสรรค์ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเนื้อหาของบทมงคลสูตรนำไปสู่การสร้างสรรค์เพลงช้าเรื่องมงคลสูตร ผู้วิจัยศึกษาข้อมูลจากเอกสาร และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านมงคลสูตรและดนตรีไทย วิเคราะห์ข้อมูลนำมาสร้างสรรค์จากทำนองต้นรากที่มีความหมายสื่อถึงเนื้อหาในบทมงคลสูตร ใช้วิธีการยืดยุบ ปรับสำนวน และการประพันธ์แบบอัตโนมัติ แสดงสำนวนเฉพาะในรูปแบบของมือฆ้องวงใหญ่
วิธีการประพันธ์แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 เพลงช้า ประกอบด้วย 1) เพลงปฐมมงคล 3 ท่อน 2) เพลงบำเพ็ญมงคล 2 ท่อน 3) เพลงศีละมงคล 1 ท่อน 4) เพลงธรรมะมงคล 2 ท่อน 5) นิพานะมงคล 2 ท่อน และกำหนดให้เพลงมงคลปริตรเป็นเพลงบรรเลงต่อท้ายทุกเพลง ใช้วิธีการประพันธ์จากทำนองต้นรากและการประพันธ์แบบอัตโนมัติ ส่วนที่ 2 เพลงสองไม้ ประกอบด้วย 1) เพลงสุทันโต 3 ท่อน 2) เพลงสังคโห 2 ท่อน 3) เพลงทันตะโม 1 ท่อน 4) เพลงคเวสธัมโม 2 ท่อน 5) เพลงปฏิปทา 2 ท่อน ส่วนที่ 3 เพลงเร็วมงคลปริตรเป็นการประพันธ์แบบอัตโนมัติ ส่วนที่ 4 ผู้วิจัยได้ประพันธ์ทำนองเพลงลาขึ้นใหม่โดยยึดโครงสร้างเดิมนำมาปรับให้สำนวนมีความพิเศษ
References
Bureau of Higher Education Standards and Evaluation, Office of the Higher Education Commission. “Standards of Thai music.” Bangkok: Printmaking Limited Partnership. 2010.
สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. “เกณฑ์มาตรฐานดนตรีไทย.”กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์. 2553.
Chaiseri, Phichit. Composition of Thai songs. Bangkok: Chulalongkorn University Press. 2013.
พิชิต ชัยเสรี. “การประพันธ์เพลงไทย.” กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2556.
Komkam, Pattara. “Thai classical music composition: pleng ruang puja nakon nan.” Ph.D. thesis. the Degree of Doctor of Fine and Applied Arts Program in Fine and Applied Arts Faculty of Fine and Applied Arts Chulalongkorn University. 2013.
ภัทระ คมขำ. “การประพันธ์เพลงช้าเรื่องปูจานครน่าน.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาศิลปกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2556.
Krangsa-ard, Boonlerd. “A Musical composition of Phleng Raung Phleng Ching: Raung Chaiyamangkala Sutra.” Ph.D. thesis. the Degree of Doctor of Fine and Applied Arts Program in Fine and Applied Arts. Faculty of Fine and Applied Arts Chulalongkorn University. 2017.
บุญเลิศ กร่างสะอาด. “การสร้างสรรค์เพลงเรื่องประเภทเพลงฉิ่ง เรื่องชัยมงคลคาถา.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาศิลปกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2560.
Losuwan, Prahmmorn. “The Study of Chanting in Effecting to contivate for the Value of Buddhist Life in Thai Society: A Case Study of Buddhists in Wat hrasriratanamahadhatvoramahavihan, Amphoemuang, Phitsanulok.”Master of Arts (Buddhist graduate) Graduate school Mahachulalongkornrajavidyalaya University. 2013.
พราห์มมร โล่ห์สุวรรณ. “การศึกษาเรื่องการสวดมนต์ที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพุทธศาสนิกชนในสังคมไทย : เพื่อศึกษาพุทศาสนิกชน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก.” ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2556.
Luangsunthorn, Sanoh, “Composition of Thai songs.” Teaching materials for the basics of Thai music composition, Faculty of Humanities, Kasetsart University Printed as a commemorative book for the Wai Khru Thai Music Ceremony. Bangkok: Siam Font Printing. 2013.
เสนาะ หลวงสุนทร. “หลักการประพันธ์เพลงไทย.” เอกสารประกอบการสอนรายวิชาหลักการประพันธ์ เพลงไทย คณะมนุษยศสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศสตร์ พิมพ์เป็นหนังสือที่ระลึกงานไหว้ครูดนตรีไทย. กรุงเทพมหานคร: อักษรสยามการพิมพ์. 2556.
Sayamarthassa Tepitkam. “Suttantapitke. Khuttakanikayassa Khuttakapato.” (4th edition). Mahamakut Royal Wittayalai is the Greater Cage. 1995.
สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกํ. “สุตฺตนฺตปิฏเก ขุทฺทกนิกายสฺส ขุทฺทกปาโฐ.” (พิมพ์ครั้งท 4). กรงเทพมหานคร: มหามกุฎราชวิทยาลัย. 2538.
Somdet Phra Buddhakhosachan (P.A. Payutto). “Praying must not overthrow the recitation.” 3rd edition. Bangkok: Plitham Publishing, affiliated with Pet and Home Publishing Co., Ltd. 2020.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). “สวดมนต์ต้องไม่โค่นสาธยาย.” พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์ ในเครือ บริษัท สำนักพิมพ์เพ็ทแอนด์โฮม จำกัด. 2563.
Tramot, Montri. “Thai Music Theory.” Bangkok: Chuan Phim. 1988.
มนตรี ตราโมท. “คำบรรยายวิชาดุริยางคศาสตร์ไทย.” กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์. 2531.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 ปราโมทย์ เที่ยงตรง, ภัทระ คมขำ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของบทความเป็นของเจ้าของบทความ บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นทัศนะของผู้เขียน
กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยและไม่รับผิดชอบต่อบทความนั้น