มุมมองเรื่องสัดส่วนและรูปเรขาคณิตกับงานนาฏยศิลป์

Authors

  • ธนกร สรรย์วราภิภู 0861924519

Keywords:

สัดส่วน, รูปเรขาคณิต, นาฏยศิลป์, นาฏยศิลป์กับเรขาคณิต, นาฏยศิลป์สร้างสรรค์, Proportion, Geometric Shape, Dance, Dance and Geometric, Creative Dance

Abstract

บทคัดย่อ

นาฏยศิลป์เป็นอีกศาสตร์หนึ่งทางศิลปะที่นำประเด็นทางด้านสัดส่วนและรูปเรขาคณิตมาใช้ในการดำเนินการสร้างสรรค์ผลงาน เช่นเดียวกัน ในบทความฉบับนี้ผู้ศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ในประเด็นสัดส่วนและรูปเรขาคณิตกับการสร้างสรรค์ผลงาน  นาฏยศิลป์เป็นอีกศาสตร์หนึ่งทางศิลปะที่นำประเด็นทางด้านสัดส่วนและรูปเรขาคณิตมาใช้ในการดำเนินการสร้างสรรค์ผลงาน เช่นเดียวกัน ในบทความฉบับนี้ผู้ศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ในประเด็นสัดส่วนและรูปเรขาคณิตกับการสร้างสรรค์ผลงาน นาฏยศิลป์ โดยแบ่งประเด็นในการศึกษาออกเป็น 3 ประเด็นได้แก่ 1. ข้อพิจารณาการสร้างงานนาฏยศิลป์กับแนวคิดเรื่องสัดส่วนในเรขาคณิตในการจัดวางองค์ประกอบเพื่อให้เกิดเอกภาพของผลงาน 2. องค์ประกอบสำคัญของสัดส่วนในรูปเรขาคณิต ประกอบไปด้วยเส้นที่เกิดจากร่างกายนักเต้นและพื้นที่ว่าง อันส่งผลต่อสุนทรียภาพในการรับชมผลงานการแสดง และ 3. มุมมองเรื่องการสร้างงานนาฏยศิลป์กับเรื่องรูปร่างหรือรูปทรงเรขาคณิต ที่พบว่าไม่เฉพาะการใช้ร่างกายเท่านั้น แต่รวมถึงการกำหนดรูปแบบ ก่อให้เกิดทฤษฎีและนำมาใช้อธิบายถึงเหตุผลในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นประโยชน์ต่อนักสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ต่อไป

Abstract

Dance is art that uses proportion and geometric shape issues in the creative process. In this article, the study aimed to study relationships in proportion and geometry shape with the creation of dance work in 3 following issues: 1) consideration to the creation of the dance with proportion of geometry in the composition to achieve the unity of the dance work; 2) the elements of the proportion in the geometry consist the lines originate from dancer’s body, and space which effect on the aesthetic when saw the performance; and 3) the perspective of creating a work of dance with geometry shape, it was not only using the body but also included the pattern the make theoretical and applied to explain reason to create the work effectively. This would be beneficial to the dance choreography.

Downloads

Published

2019-03-07

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article