แนวทางเทคนิคการขับร้องของท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์

Authors

  • พัทธนันท์ อาจองค์ 0840943898
  • วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น

Keywords:

แนวทางการฝึกซ้อม, การตีความ, พวงร้อย อภัยวงศ์, เพลงร้องไทย, Singing Approach, Interpretation, Puangroi Abhaiwongse, Thai Song

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง เทคนิคการขับร้องบทเพลงของท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ซึ่งประกอบไปด้วย 5 บทได้แก่ เพลงบัวขาว เพลงดอกไม้ เพลงจันทร์เอ๋ย เพลงไม้งาม และเพลงเงาไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเทคนิคและวิธีการขับร้องบทเพลงของท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ในแบบดนตรีตะวันตก เพื่อนำไปใช้ในการแสดงหรือเป็นการศึกษาบทเพลงสำหรับผู้ที่มีความสนใจที่จะฝึกขับร้องบทเพลงของท่านผู้หญิง การวิจัยเรื่อง เทคนิคการขับร้องบทเพลงของท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ซึ่งประกอบไปด้วย 5 บทได้แก่ เพลงบัวขาว เพลงดอกไม้ เพลงจันทร์เอ๋ย เพลงไม้งาม และเพลงเงาไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเทคนิคและวิธีการขับร้องบทเพลงของท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ในแบบดนตรีตะวันตก เพื่อนำไปใช้ในการแสดงหรือเป็นการศึกษาบทเพลงสำหรับผู้ที่มีความสนใจที่จะฝึกขับร้องบทเพลงของท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ผลการศึกษาพบว่า บทเพลงเหล่านี้สามารถขับร้องในรูปแบบของดนตรีตะวันตกได้ แต่ต้องปรับการออกเสียงภาษาไทยให้ถูกต้องเหมาะสมกับหลักการร้อง บทเพลงเหล่านี้ประพันธ์โดยได้รับอิทธิพลจากบทเพลงตะวันตก ดังนั้นรูปแบบการร้องแบบทอดเสียงจึงเป็นสิ่งที่พบในทุกบทเพลง นอกจากนี้การปรับความเข้มของเสียงและอารมณ์ความรู้สึกในการร้องให้สอดคล้องกับเนื้อหาของเพลงก็เป็นอีกปัจจัยที่สำคัญในการขับร้องเพลงเหล่านี้ ซึ่งจะส่งผลให้การขับร้องและการตีความบทเพลงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้จากการวิเคราะห์เนื้อเพลงให้อยู่ในลักษณะของสัทอักษรเพื่อให้ง่ายต่อการออกเสียง ก่อนจะเลือกกุญแจเสียงที่เหมาะกับเสียงร้อง และเป็นเทคนิคสูความสำเร็จที่สำคัญยิ่ง นำจุดที่มีปัญหามาฝึกซ้อมเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสม และฝึกซ้อมซ้ำหลายครั้งจนเกิดความคุ้นชิน

Abstract

The research ‘Vocal Technique in Singing Puangroi Abhaiwongse’s Songs’, which focuses on 5 songs: ‘Bua Khao’, ‘Dok Mai’, ‘Chan Oei’, ‘Mai Ngam’, and ‘Ngao Mai’ , aims to study the compositions in order to efficiently apply Western classical singing techniques to practice and performance. It also aims to be a guideline for singers who have interest  The research ‘Vocal Technique in Singing Puangroi Abhaiwongse’s Songs’, which focuses on 5 songs: ‘Bua Khao’, ‘Dok Mai’, ‘Chan Oei’, ‘Mai Ngam’, and ‘Ngao Mai’ , aims to study the compositions in order to efficiently apply Western classical singing techniques to practice and performance. It also aims to be a guideline for singers who have interest in performing Abhaiwongse’s compositions. It can be concluded from the study that the compositions can be sung with Western classical singing technique. The major concern is to maintain the correct pronunciation of tonal Thai lyric in the Western singing style. Evidently that Western compositional technique has significantly influenced on the Abhaiwongse’s songs. Hence, the requirement of legato singing technique can be found in all of the studied pieces. It is also apparent that understanding the change of dynamic and expression in accordance with the feeling of a song can remarkably enhance the interpretation of a piece and the quality of a performance. Besides, the analysis of the phonetic alphabets of the lyrics can possibly simplify pronunciation choosing appropriate keys that are suitable for the researcher’s vocal range. Would mean whiles encountered technical difficulties. The singer should focus on the difficult passages, find appropriate solutions, and repeatedly practice on that focused sections is truly be the technique to the success.

Downloads

Published

2018-10-17

Issue

Section

บทความวิจัย | Research Article