การแสดงเดี่ยวไวโอลิน โดย อธิปไตย พรหมสุรินทร์

Authors

  • อธิปไตย พรหมสุรินทร์ 1160/45 ถ.สามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพ 10300
  • นรอรรถ จันทร์กล่ำ

Keywords:

ไวโอลิรคลาสสิก, การแสดงเดี่ยวไวโอลิน, อธิปไตย พรหมสุรินทร์, Classical Violin, Violin Recital, Atippatai Promsurin

Abstract

บทคัดย่อ

การแสดงเดี่ยวไวโอลินในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับบทเพลงที่ใช้แสดงไวโอลินประกอบด้วยการศึกษาเกี่ยวกับผู้ประพันธ์เพลงในด้านชีวประวัติ ด้านการประพันธ์เพลงและแรงบันดาลใจในการประพันธ์เพลงของผู้ประพันธ์ การตีความบทเพลง เปรียบเทียบการตีความในบทเพลงของนักแสดงไวโอลินต่างๆ ศึกษาแนวความคิดและเทคนิคการบรรเลง และวิเคราะห์ในบทเพลงเพื่อให้เป็นประโยชน์ในการฝึกซ้อม การเตรียมตัวสำหรับการแสดงและรวมถึงการจัดการแสดงการแสดงเดี่ยวไวโอลินในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับบทเพลงที่ใช้แสดงไวโอลินประกอบด้วยการศึกษาเกี่ยวกับผู้ประพันธ์เพลงในด้านชีวประวัติ ด้านการประพันธ์เพลงและแรงบันดาลใจในการประพันธ์เพลงของผู้ประพันธ์ การตีความบทเพลง เปรียบเทียบการตีความในบทเพลงของนักแสดงไวโอลินต่างๆ ศึกษาแนวความคิดและเทคนิคการบรรเลง และวิเคราะห์ในบทเพลงเพื่อให้เป็นประโยชน์ในการฝึกซ้อม การเตรียมตัวสำหรับการแสดงและรวมถึงการจัดการแสดง การแสดงได้คัดเลือกบทเพลงบรรเลง 4 บทเพลง จากผลงานของนักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงและได้ประพันธ์ผลงานอันทรงคุณค่าไว้รวมทั้งหมด 3 ยุค ได้แก่ (1) Violin sonata no.1 in A minor, Op.105 ประพันธ์โดย Robert Schumann (2) Sonatas for solo Violin no.3 in D minor, Op.27 (Ballade) ประพันธ์โดย Eugune Ysaye (3) Violin Concerto in D major, Op.61 ประพันธ์โดย Lugwig Van Beethoven (4) Cantabile for Violin and Piano in D major, Op.17 ประพันธ์โดย Niccolo Paganini  การแสดงเดี่ยวไวโอลินในครั้งนี้กำหนดจัดการแสดงในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2561 เริ่มการแสดงเวลา 14.00 น. ณ ห้อง Recital hall ชั้น 3 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมเวลาที่ใช้ในการแสดง 1 ชั่วโมง 40 นาที

Abstract

The purpose of this Violin Recital was to study and research information on repertoire for violin performance. The study included composer’s biography, composition, and composer’s inspiration; interpretation, a comparative study on different performance interpretation, thought processes, and performing technique; music analyses to aid the practice and preparation of the recital; and the presentation of the recital.The purpose of this Violin Recital was to study and research information on repertoire for violin performance. The study included composer’s biography, composition, and composer’s inspiration; interpretation, a comparative study on different performance interpretation, thought processes, and performing technique; music analyses to aid the practice and preparation of the recital; and the presentation of the recital. For the performance, four pieces by famous composers form three periods were selected: (1) Violin sonata no.1 in A minor, Op.105 by Robert Schumann (2) Sonatas for solo Violin no.3 in D minor, Op.27 (Ballade) by Eugune Ysaye (3) Violin Concerto in D major, Op.61 by Lugwig Van Beethoven (4) Cantabile for Violin and Piano in D major, Op.17 by Niccolo Paganini. The Violin Recital took place on April 4, 2018 at 2:00 p.m. at Recital Hall, Third Floor, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University. The total duration of the performance is 1 hour 40 minutes.

Downloads

Published

2018-10-16

Issue

Section

บทความวิจัย | Research Article