ห้องเรียนครูสังคมศึกษากับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน

Main Article Content

วิภาดา พินลา
วิภาพรรณ พินลา

บทคัดย่อ

การเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การแสวงหาความรู้ ทักษะ กระบวนการ และเจตคติจากชุมชนท้องถิ่น ภายใต้การมีส่วนร่วมระหว่างครู ผู้เรียน และกลุ่มคนในชุมชน ในลักษณะของการเป็นหุ้นส่วนในการเรียนรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นกัลยาณมิตร โดยมีขั้นตอนกระบวนการ 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 วิเคราะห์ชุมชน ขั้นที่ 2 การวางแผนงานชุมชน ขั้นที่ 3 การปฏิบัติการลงพื้นที่ชุมชน และขั้นที่ 4 การสะท้อนผลชุมชน ซึ่งแต่ละขั้นตอนส่งเสริมให้ผู้เรียนทำงานร่วมกันเป็นทีม มีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ศีลธรรม และเกิดความรัก ความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน ตลอดจนการเป็นพลเมืองที่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข

Article Details

How to Cite
พินลา ว., & พินลา ว. . (2023). ห้องเรียนครูสังคมศึกษากับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 23(2), 1–12. https://doi.org/10.55164/jedutsu.v23i2.259549
บท
บทความทางวิชาการ

References

วิไลภรณ์ ฤทธิคุปต์. (2561). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพของครูในศตวรรษที่ 21. วารสาร 2561 บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 11(3), 179-191.

ศตวรรษ มะละแซม. (2563). การพัฒนาหลักสูตรเสริมเพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะ ตามแนวคิดการเรียนรู้รับใช้สังคม และการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี. (วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2564). รายวิชาเลือกสาระทักษะการเรียนรู้รายวิชาคลังปัญญาชุมชน (ทร 03007) ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. นครราชสีมา: สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.

สุปรียา ไผ่ล้อม. (2562). รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเมืองเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2(5), 96-111.

แสงงาม นิธิภคพันธ์. (2564). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community Based Learning: CBL) เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษาและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 11(1), 111-125.

Fulton, K.A. and Diaz D. (2020). Fusing Global Learning and Community-Based Learning. Journal of Community Engagement and Higher Education, 12(3), 69-80.

Garoutte, L. and McCarthy-Gilmore, K. (2014). (2014). Preparing students for community-Based learning using an assetbased approach. Journal of the Scholarship of Teaching and Learning, 14(5), 48 - 61.

Mangkhang, C. (2021). Design of Community-Based Transdisciplinary Learning for Social Studies Teachers in the Diverse School Contexts, Northern of Thailand. Journal of Education and Learning, 10(3), 17-26.

Melinda Russell-Stamp. (2015). Faculty Use of Community-Based Learning: What Factors Really Matter?. Michigan Journal of Community Service Learning. Spring, 37-48.

Murphy, M.S. and Flowers, K.S. (2017). Consortial Collaboration and the Creation of an Assessment Instrument for Community-Based Learning. journal of Higher Education Outreach and Engagement, 2(11), 57-77.

Naeem, I. and Aparicio-Ting, F.E. (2020). Incorporating Community-based Learning Experiences in Graduate Education : A Workshop and Proposed Framework. Papers on Postsecondary Learning and Teaching, 4(1), 9-16.

Rona, J.K. (2019). Community Partners’ Perspectives and the Faculty Role in Community-Based Learning. Journal of Experiential Education, 43(2), 113-135.

Shauna K., Carlisle, E. and other. (2020). The Impact of Community-based Learning on Civic Engagement. Journal of Service-Learning in Higher Education, 11(1), 102-117.

Suparat, O.; Prayoon, W.; Wutthisak, B. (2021). The Effect of Integrated Instructional Activities of Environmental Education by Using Community-Based Learning and Active Learning. Journal of Curriculum and Teaching, 10(2), 42-57.

Thamwipat, K.; Princhankol, P. and Deeyen, N. (2019). The Development of Multimedia and Activities to Promote Products Made by State Enterprise Communities in the Bangmod Project 4.0 Through

UNESCO Institute for Lifelong Learning. (2017). Community-Based Learning for Sustainable Development. Retrieved from https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED612605.pdf

Vázquez, K.E. and Wright, M. (2018). Making Visible the Invisible : Social Justice and Inclusion through the Collaboration of Museums and Spanish Community-Based Learning Projects. Making Visible the Invisible, 114-129.