การจัดการความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมการทำหัวโขน ชุมชนสะพานไม้ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ทัศพร เกตุถนอม

บทคัดย่อ

            การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาการจัดการความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมการทำหัวโขน ชุมชนสะพานไม้ และ 2) เพื่อเสนอรูปแบบการจัดการความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมการทำหัวโขน ชุมชนสะพานไม้ กระบวนการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอนคือ 1) การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญการทำหัวโขน จำนวน 19 คน ด้วยกระบวนการ Delphi technique และ 2) การประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านการทำหัวโขน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามประมาณค่า สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการประเมินความคิดเห็นใช้ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม และค่าพิสัยควอไทล์ สำหรับการประเมินความสอดคล้อง ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้


            การจัดการความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมการทำหัวโขน ชุมชนสะพานไม้ มีองค์ประกอบหลัก ได้แก่ บริบทของภูมิปัญญาท้องถิ่น บริบทของชุมชน รูปแบบการจัดการความรู้ และศิลปะการทำหัวโขน


            รูปแบบการจัดการความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมการทำหัวโขน ชุมชนสะพานไม้ จากการประเมินความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 220 คน ปรากฏว่าเห็นด้วยในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 4.19)


 

Article Details

How to Cite
เกตุถนอม ท. (2021). การจัดการความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมการทำหัวโขน ชุมชนสะพานไม้ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 22(41), 3–16. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/cultural_approach/article/view/244562
บท
Research Article

References

Boondee Boonyakit et al. (2006). The Knowledge Management from Theory to Practice of the National Proceed Increase. Bangkok: Se-education.

Chavalit Soontranon. (2011). Alternative: Beliefs Expressed in the Performance of A Masked-Dance Drama Written by King Rama VI. Master’s Thesis, Ramkhamhaeng University.

Fine Arts Department. (2009). The Source Master Copy Project for Knowledge Management of Actor’s Mask. Bangkok: Ministry of Culture.

Kanlaya Vanichbuncha. (2016). The High Analysis with SPSS for Window. Bangkok: Chulapress.

Kaukamon Srisamang. (2013). The Actor’s Mask Model from Ancient to Present of Chit Kaewduangyai. Faculty of Archaeology, Silpakorn University.

McLeod, S. A. (2019). Likert Scale. Retrieved from http://www.simplypsychology.org/likert-scale.html

Nanpaporn Sithiya. (2008). A Study of A Community-Led Knowledge Management Processes to Promote Ecotourism. Master’s Thesis, Faculty of Education, Chulalongkorn University.

Patcharin Romphochuen. (2014). Management of Khru Chucheep Khun-Aad’s Art of Mask Dance. Master’s Thesis, Department of Cultural Resource Management, Faculty of Arts, Silpakorn University.

Preeda Poonsin. (2011). Community Participation in Knowledge Management of Arts and Culture: A Case Study of Wat Sommanat Community. Bangkok: Ministry of Culture.

Samart Taingpoonwong. (2014). Management of Art and Cultural Knowledge in A Community: A Case Study of Wat Yai Intraram, Chon Buri Province. Master’s Thesis, Faculty of Public Administration, Burapha University.

Sayan Praicharnjit. (2015). The Archaeology Resource Management on Community Development. Bangkok: Saksopha Press.

Udom Cheoykeewong. (2013). Tradition Ceremony Local Thai. Bangkok: Sukaphapjai Press.