Songs: Lifestyles, Folk Music, Conservation for A Sustainable Culture

Main Article Content

Khemeka Arrom

Abstract

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาความต้องการภูมิปัญญาท้องถิ่นดนตรีพื้นบ้านชุมชนบ้านหว้า ตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ 2) เพื่อสร้างโน้ตเพลงดนตรีพื้นบ้านชุมชนบ้านหว้า ตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เจาะลึกเป็นการศึกษาเฉพาะกรณีผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญ การอภิปรายกลุ่มย่อย และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม


            ผลการวิจัยดังนี้ ปัญหาความต้องการภูมิปัญญาท้องถิ่นดนตรีพื้นบ้านชุมชนบ้านหว้า พบว่า ชมรมอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้านบ้านหว้ามีปัญหาความต้องการ ดังนี้ 1)โน้ตเพลง 2) เครื่องดนตรีที่ขาดแคลน 3) ชุดการแสดง 4) นักดนตรีและนางรำเพื่อทำการสืบทอด 5) การออกแบบท่ารำ โน้ตเพลงดนตรีพื้นบ้านของชุมชนบ้านหว้าที่สร้างขึ้นมาได้แก่ 1) เพลงแตร 2) จีนแหบ 3) หอลำปัน 4) เพลงแขกมอญ

Article Details

How to Cite
Arrom, K. (2021). Songs: Lifestyles, Folk Music, Conservation for A Sustainable Culture. Journal of Cultural Approach, 22(41), 17–27. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/cultural_approach/article/view/244563
Section
Research Article

References

Arporn Na Songkla et al. (1987). Mural Painting Survey at Wat Khlong Nam Khem. Bangkok.

Charoenchai Chonpairoj. (1983). Northeastern Folk Music. Department of Music, Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University, Mahasarakham Campus.

Kakanang Chorchoo. (2016). The Process of Health Strengthening by Local Wisdom of Banwa Community, Nongteng Sub-district, Grasung District, Buriram Province. Buriram Rajabhat University.

Kasem Chunkao. (1987). Environmental Science. Bangkok: Aksorn Siam Printing.

Piyapan Santaweesuk. (2003). Composition. Kalasin: Prasarn Printing.

Suvit Rasmibhuti. (1987). Regulation of the Fine Arts Department on the Conservation of Ancient Ruins as Evidence Academic. Silpakorn University.