จารึกเทวานีกะ (จารึกวัดหลวงเก่า) กับความเป็นกาวยะประเภทจัมปู

Main Article Content

พระมหากวีศักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาจารึกเทวานีกะ (หรือจารึกวัดหลวงเก่า) ที่พบ ณ วัดหลวงเก่า บริเวณเมืองโบราณ ใกล้ปราสาทวัดพู แขวงจำปาศักดิ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยใช้แนวคิดเรื่องกาวยะของวรรณคดีสันสกฤตเป็นเครื่องมือ ผลการศึกษาพบว่า จารึกเทวานีกะเป็นจารึกภาษาสันสกฤตที่ประพันธ์เป็นร้อยแก้วผสมร้อยกรอง เรียกได้ว่าเป็น “กาวยะประเภทจัมปู” มีลีลาการประพันธ์ตามแบบกาวยะของอินเดีย อุดมไปด้วยความงามแห่งวรรณศิลป์ และมีการอ้างถึงมหาภารตะ แสดงให้เห็นว่าภาษาสันสกฤตที่เข้ามาพร้อมกับอารยธรรมอินเดียในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ราวต้นคริสตศตวรรษที่ 5 นั้นเป็นไปอย่างเข้มข้น และความเป็นกาวยะประเภทจัมปูทำให้ตัดสินได้ว่าจารึกหลักนี้ไม่ใช่จารึกของเขมรโบราณสมัยก่อนพระนคร


 


คำสำคัญ: จารึกเทวานีกะ, จารึกวัดหลวงเก่า, กาวยะ, คุณค่าทางวรรณศิลป์


 

Article Details

How to Cite
วาปีกุลเศรษฐ์ พ. (2021). จารึกเทวานีกะ (จารึกวัดหลวงเก่า) กับความเป็นกาวยะประเภทจัมปู. วิพิธพัฒนศิลป์, 1(2), 1–17. https://doi.org/10.14456/wipit.2021.7
บท
บทความวิจัย

References

กุลนิจ คณะฤกษ์. (2552). ขนบการประพันธ์และทรรศนะเรื่องความคิดสร้างสรรค์ในวรรณคดีสันสกฤต: ศึกษาเปรียบเทียบจากวรรณคดีมหากาพย์กับวรรณคดีกาวยะ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. Silpakorn University Repository: SURE. http://www.sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/10205

กุสุมา รักษมณี. (2549). การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ธรรมสาร.

จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา. (2523). จารึกภาษาสันสกฤตที่สำคัญในประเทศอินเดีย ระหว่างค.ศ. 150-532. ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา. (2530). อลังการ. ใน อุไรศรี วรศะริน และคณะ (บ.ก.), คีตวรรณกรรม (น.8-14). กลุ่มคีตวรรณกรรมภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จำลอง สารพัดนึก. (2546). ประวัติวรรณคดีสันสกฤต 1. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชานป์วิชช์ ทัดแก้ว. (2560). จารึกปรากฤต-สันสกฤตและกาวยะ: ต้นธารแห่งวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติของไทย. โสรมสรวงศิรธิรางค์ วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้น. (น.87-96). กรมศิลปากร.

นาวิน โบษกรนัฏ. (2560). วัจนลีลาในร้อยกรองของพาณะ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59692

นิพัทธ์ แย้มเดช. (2558). การศึกษาอลังการในจารึกปราสาทตาพรหมของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. DSpace at Silapakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/623

นิพัทธ์ แย้มเดช. (2560). ความเชื่อของกวีในการสดุดีกษัตริย์ที่สะท้อนจาก “กวิสมยะ”: ศึกษาจากจารึกภาษาสันสกฤตที่พบในประเทศไทย. ดำรงวิชาการ. 16(1), 115-146.

ปราณี ฬาพานิช. (2542). สุวฤตติลก: ยอดแห่งฉันท์วรรณพฤติที่งดงาม. คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระมหากวีศักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์. (2563). วรรณกรรมบาลีเรื่องสมันตกูฏวัณณนา: การศึกษาวรรณศิลป์และสังคม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. DSpace at Silapakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2893

วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2556). “มรดกโลกที่วัดพู” ฟื้นฝอยหามรดกยุคอาณานิคมของอินโดจีนแห่งฝรั่งเศส. จดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์, 18(100), 6-8.

สยาม ภัทรานุประวัติ. (2546). ลักษณะกาวยะในจารึกภาษาสันสกฤตที่พบในประเทศไทย. ใน กรรณิการ์ วิมลเกษม และคณะ (บ.ก.), ภาษาจารึก ฉบับที่ 9 การประชุมวิชาการเนื่องในอายุครบ 7 รอบของศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ณ นคร เรื่องจารึกและเอกสารโบราณ: การศึกษาวิจัยในปัจจุบันและทิศทางในอนาคต (น.277-291). ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุภัทรดิศ ดิศกุล, ม.จ. (2560). ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ ถึง พ.ศ. 2000. (พิมพ์ครั้งที่ 6). สามลดา.

สำเนียง เลื่อมใส. (2547). มหากาพย์พุทธจริต. ศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร

อนงค์ นาคสวัสดิ์. (2522). “นานที” ในบทละครสันสกฤต. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27668

Barth, A. (1885). Inscriptions Sanscrites du Cambodge. Imprimerie nationale.

Basak, R. & Bhattacharya, K. (2001). Inscriptions: Their Literary Value. In S. K. Chatterji (ed.), The Cultural Heritage of India Volume V Languages and Literatures. (Paperback Edition). The Ramakrishna Mission Institute of Culture Calcutta, 390-416.

Belvalkar, S. K. (1924). Kāvyādarśa of Daṇḍin Sanskrit Text and English Translation. The Oriental Book-Supplying Agency.

Cœdès, G. (1953). Inscriptions du Cambodge Vol. V. Imprimerie d'extreme-Orient.

Cœdès, G. (1956). Nouvelles données sur les origines du royaume khmèr: la stèle de Văt Luong Kău près de Văt P'hu. Bulletin de l'Ecole française d'Extrême-Orient, 48(1), 209-220.

Finot, L. (1904). Notes d'épigraphie: XI. Les inscriptions de Mi-Sơn. Bulletin de l'Ecole française d'Extrême-Orient, 4, 897-977.

Gretil. (n.d.). Mahabharata: Aranyakaparvan. http://gretil.sub.uni-goettingen.de/gretil/1_sanskr/2_epic/mbh/mbh_03_u.htm

Griffiths, A., & Southworth, W. A. (2007). La stèle d’installation de Śrī Satyadeveśvara: une nouvelle inscription du Campā trouvée à Phước Thiện. Journal Asiatique, 295, 349-381.

Griffiths, A., & Southworth, W. A. (2011). La stèle d’installation de Śrī Ādideveśvara: une nouvelle inscription de Satyavarman trouvée dans le temple de Hoà Lai et son importance pour l’histoire du Pāṇḍuraṅga. Journal Asiatique, 299, 271-317.

Kane, P. V. (1923). The Sāhityadarpaṇa of Viśvanātha (Parichchhedas I-X) (2nd ed.). n.p.

Keith, A. B. (1956). A History of Sanskrit Literature. Oxford University.

Mani, V. (1975). Puranic encyclopaedia: a comprehensive dictionary with special reference to the epic and Puranic literature. Motilal Barnasidass.

Naganatha Sastry, P. V. (1991). Kāvyālaṅkāra of Bhāmaha Edited with English Translation and Notes. Motilal Banarsidass.

Sharan, M. K. (1974). Studies in Sanskrit Inscriptions of Ancient Cambodia. Abhinav Publications.

Zakharov, A. (2015). Devānīka’s inscription from Văt Luong Kău near Vat Phou in Laos K. 365: first English translation. South East Asian Review, 40(1-2), 1–23.