นวัตกรรมกับการปรับตัวต่อการแข่งขันทางธุรกิจขององค์กร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การแข่งขันที่ทวีความรุนแรงขึ้นในโลกธุรกิจ ทำให้ทุกองค์กรพยายามนำนวัตกรรมมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในองค์กรและการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ทว่าการปรับใช้นวัตกรรมนั้นมิได้เป็นสูตรสำเร็จที่สามารถนำมาใช้กับองค์กรได้อย่างตายตัว แต่ต้องมีการปรับใช้ให้เหมาะสมกับรูปแบบการดำเนินงาน ตลอดจนวัฒนธรรมขององค์กร โดยบทความฉบับนี้ได้รวบรวมถึงนวัตกรรมที่สามารถปรับใช้ได้ในองค์กร การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนรูปแบบการบริหารจัดการนวัตกรรม ทั้งนี้การสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมจำเป็นต้องมีความร่วมมือทุกฝ่าย มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี เน้นความสำคัญของบุคลากร ไมตรีสัมพันธ์ และเหนือสิ่งอื่นใดคือการปรับใช้ข้อมูลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมให้ตรงต่อความต้องการของลูกค้า ตลอดจนประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีการเรียนรู้ของเครื่องจักรเพื่อให้สามารถประมวลผลข้อมูลเชิงลึกและนำไปใช้ปรับปรุงกระบวนการต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความและบทความในวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ เป็นแนวคิดของผู้เขียน ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ข้อความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาติเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการก่อนเท่านั้น
References
จันทร์จิรา เหลาราช. (2564). การปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลและผลกระทบต่อองค์กร. มนุษยศาสตร์สาร, 22(1), 227-240.
ธวัชชัย วรสถิตย์ และณัฐพันธ์ บัววราภรณ์. (2562). วัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อการพัฒนานวัตกรรม กรณีศึกษา ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (สำนักงานใหญ่). การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 14 ปีการศึกษา 2562. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, สุนันทา เสียงไทย, ยุทธชัย ฮารีบิน. (2561). การพัฒนานวัตกรรมแบบเปิด (Open Innovation) จากการร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับผู้ประกอบการส่งออกยางพาราภาคใต้. WMS Journal of Management Walailak University, 7(10), 144-155.
สุทธิวิชญ์ สุทธินันทสุข. (2565). แนวทางการพัฒนากลยุทธ์การปรับใช้เทคโนโลยีทางดิจิทัล ด้านความพึงพอใจและแรงจูงใจในการทางานจากกรณีศึกษาในช่วงการแพร่ระบาด COVID-19 เปรียบเทียบระหว่าง Generation Y และ Z ในเขตกรุงเทพมหานครฯ. สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการจัดการ, มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุุรเดช จองวรรณศิิริ. (2562). การจัดการสู่่องค์กรนวัตกรรม Innovative Organization Book Of Knowledge. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวััตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน).
อมรรักษ์ สวนชูผล. (2563). การจัดการองค์กรธุรกิจกับปัญญาประดิษฐ์เพื่อความอยู่รอดทางธุรกิจ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(3), 155-164.
Becker, T., Curry, E., Jentzsch, A., Palmetshofer, W. (2016). Cross-sectorial Requirements Analysis for Big Data Research. In: Cavanillas, J., Curry, E., Wahlster, W. (eds), New Horizons for a Data-Driven Economy, Springer, 263-276.
Bertello, A., De Bernardi, P., Ricciardi, F. (2021). Open Innovation for Digital Transformation in Low- and Medium-Tech SMEs: Analysis of Pre-competitive Collaborative Projects. In: Ceci, F., Prencipe, A., Spagnoletti, P. (eds), Exploring Innovation in a Digital World. Lecture Notes in Information Systems and Organisation, 51, 182-197.
Burchardt, C., Maisch, B. (2019). Digitalization needs a cultural change - examples of applying Agility and Open Innovation to drive the digital transformation. Procedia CIRP, 84, 112-117.
Fuerlinger, G., Garzik, L. (2022). Silicon Valley Innovation System. In: Garzik, L. (eds), Successful Innovation Systems. Future of Business and Finance. Springer, 225-247.
Glass, R., Callanhan, S. (2015). The Big Data-driven Business How to use big data to win customers, beat competitors, and boost profits. NY: John Wiley & Sons.
Gupta, S. (2018). Organizational Barriers to Digital Transformation. Master of Science Thesis, Industrial Management, KTH Royal Institute of Technology). Form https://www.diva-portal.org/smash/get/diva2:1218220/FULLTEXT01.pdf
Keeley, L., Pikkel, R., Quinn, B., & Walters, H. (2013). Ten types of innovation: The Discipline of Building Breakthroughs. NY: John Wiley & Sons.
Klompenburg, T. V., Kassahun, A. (2022). Data-driven decision making in pig farming: a review of the literature. Livestock Science, 261, 104961. https://doi.org/10.1016/j.livsci.2022.104961
Likar, B., Urška, M. (2013). Innovation management. Korona plus d.o.o., Institute for Innovation and Technology.
Michelli, J. A. (2554). Leading the Starbucks Way: สุดยอดสตาร์บัคส์. กรุงเทพฯ: McGraw-Hill.
Nieminen, J. (2020). The Ten Types of Innovation Framework Explained. Viima. Retrieved February 26, 2023, from https://www.viima.com/blog/ten-types-of-innovation.
Schoellhammer, S. (2020). Innovation Exposed: Case Studies of Strategy, Organization and Culture in Heterarchies. Springer Gabler.
Srisathan, W. A., Ketkaew, C., Naruetharadhol, P. (2020). The intervention of organizational sustainability in the effect of organizational culture on open innovation performance: a case of Thai and Chinese SMEs. Cogent Business & Managment, 7(1).
Trabucchi, D., Buganza, T. (2019). Data-driven innovation: switching the perspective on Big Data. European Journal of Innovation Management, 22(1), 23-40.
Trott, P. (2005). Innovation Management and New Product Development (3rd ed.). Pearson Education Limited.
Uttamchandani, S. (2021, June 20). Data is the new Oil; AI is the new Electricity: My experiences building Data+AI Products & Platforms. Retrieved February 26, 2023, from https://modern-cdo.medium.com/building-data-ai-products-dff8c83d4e21.