อิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่มีต่อผลการปฏิบัติงานผ่านการรับรู้ ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปของพนักงานในกลุ่มธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SME) ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

พงศกร เอี่ยมสอาด
ณัฐวุฒิ สมบูรณ์ทวี

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อผลการปฏิบัติงานผ่านการรับรู้ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปของพนักงานในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) โดยมีกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 400 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การมีอิทธิพลเชิงบวกกับผลการปฏิบัติงาน ตัวแปรด้านการรับรู้ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปมีอิทธิพลเชิงลบต่อผลการปฏิบัติงาน และพบว่าการรับรู้ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปเป็นตัวแปรกลางที่มีอิทธิพลระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและผลการปฏิบัติงาน และได้มีการอภิปราย สรุปผล รวมทั้งเสนอแนะการวิจัยในอนาคต

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยสาส์น.

บุญฑวรรณ วิงวอน. (2552). ตัวแบบเส้นทาง PLS ของบุพปัจจัยและผลลัพธ์ของการรับรู้ในการสนับสนุนจากองค์กรของพนักงาน

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัดลำปาง. คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง.

เปมิกา ทรัพย์ส่ง. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้างานตามการรับรู้ของพนักงานกับ

ผลการปฏิบัติงานและความพึงพอใจในงานของพนักงานบริษัท ผาทองทุ่งสง จำกัด และ บริษัท ผาทอง 24 จำกัด.

วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช.

สุวิมล ติรกานันท์. (2550). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2563) แผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดย่อม (สสว.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2564. สืบค้น 24 ธันวาคม 2563, จาก http://www.sme.go.th/th

Bass, B. M., & Riggio, R. E. (2006). Transformational leadership (2nd ed.).

NJ: Lawrence Erlbaum Associates Publishers.

Borman, W. C., & Motowidlo, S. J. (1993). Expanding the criterion domain to include elements of

ontextualperformance. In N. Schmitt, & W. C. Borman (Eds.), Personnel selection in organizations

(pp. 71-98). San Francisco: Jossey-Bass.

Campbell, J. P., McHenry, J. J., & Wise, L. L. (1990). Modeling job performance in a population of jobs.

Personnel Psychology, 43(2), 313-333.

Motowidlo, S. J., Borman, W. C., & Schmit, M. J. (1997). A theory of individual differences in task and contextual

performance. Human Performance, 10, 71-83

Rhoades, L., Eisenberger, R. & Armeli, S. (2001). Affective commitment to the organization: The contribution of

perceived organizational support. Journal of Applied Psychology, 86(5), 825-836.

Rhodes, E. & Armel. (2002). Perceived Organizational Support: A Review of the Literature.

Journal of Applied Psychology, 87(4), 698-714.

Robbins, S. P., & Judge, T. (2010). Comportamiento Organizacional. Pearson Educación.

Eisenberger, R., Armeli, S., Rexwinkel, B., Lynch, P. D., & Rhoades, L. (2001) Reciprocation of Perceived

Organizational Support. Journal of Applied Psychology, 86(1), 42-51.

Trautmann, K., Maher, J. K., & Motley, D. G. (2007). Learning strategies as predictors of transformational

leadership: The case of nonprofit managers. Leadership & Organization Development Journal.

(1)30, 269-287.

Van Scotter, J., Motowidlo, S. J., & Cross, T. C. (2000). Effects of task performance and contextual performance

on systemic rewards. Journal of applied psychology, 85(4), 526.

Wayne, S. J., Shore, L. M., & Liden, R. C. 1997. Perceived organizational support and leader-member exchange:

A social exchange perspective. Academy of Management Journal, 40, 82-111.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3th ed.). NY: Harper and Row Publication.