กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมัธยมศึกษา ในจังหวัดชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11

Main Article Content

จุรีพร บุญพรัด
สมใจ สืบเสาะ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาสภาพของกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 (2) เปรียบเทียบกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ตามขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 293 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลแบบสอบถามความคิดเห็นกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชุมพร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติค่าเอฟ (F-test) โดยวิเคราะห์ความแปรปรวน


ผลการวิจัยพบว่า 1) กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) เปรียบเทียบกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545.

กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการบริการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2549). คู่มือการปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). แนวทางการนิเทศเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักงาน. (2549). แนวคิดและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ในระยะ

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ทองดี พิมพ์สาลี. (2558). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพเพียงของผู้บริหารสถานศึกษา ในอำเภอนายูง

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 4. การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา

ปราณี หลำเบ็ญสะ. (2559). การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผล. โครงการบริการวิชาการ ท่าสาบโมเดล.

คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา.

พิชญาดา สิงหเลิศ. (2560). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนในสหวิทยาเขตระยอง 2 สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

พิทักษ์ อ่ำพิน. (2553). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษา,

คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

พิสณุ ฟองศรี. (2551). วิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: เทียมฝ่าการพิมพ์.

ภัทรานิษฐ์ เหมาะทอง, วนิดา ทองโคตร และสุพรรณี อึ้งปัญสัตวงศ์. [ม.ป.ท.]. การกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตร Yamane

(Determining the sample size by the Yamane’s formula.). สืบค้น 18 พฤศจิกายน 2563,

จาก http://sc2.kku.ac.th/stat/statweb/images/Eventpic/60/Seminar /01_9_Yamane.pdf

รัตนา หลวงกลาง. (2558). แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,

(ฉบับพิเศษ), 2589-600.

สร้อยทิพย์ ทองใหญ่. (2551). การศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการพัฒนาสาระการเรียนรู้

ท้องถิ่นแบบบูรณาการ จังหวัดอุดรธานี. การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาหลักสูตรและการสอน,

คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อภิวรรณ วีระสมิทธิ์. (2544). หนังสือกับการปฏิรูปการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ธารอักษร.