การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไทรม้า อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี

Main Article Content

ธนิดา บุญเมือง
พิชิต รัชตพิบุลภพ

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไทรม้า อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ใช้การศึกษาเชิงปริมาณ โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 4 ด้านคือ ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านแสดงความคิดเห็น ด้านการตัดสินใจ ด้านการติดตามตรวจสอบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่อาศัยอยู่ในเขตตำบลไทรม้า อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ตามเขตการปกครองทั้ง 6 หมู่บ้าน จำนวน 393 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไทรม้า อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการตัดสินใจ มีค่าเฉลี่ยระดับการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านการแสดงความคิดเห็นและด้านการติดตามตรวจสอบมีค่าเฉลี่ยระดับประสิทธิภาพในระดับปานกลาง ในส่วนของผลการศึกษาเปรียบเทียบเทียบระดับประสิทธิภาพ เมื่อจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าอายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือนและหมู่ที่อยู่อาศัยมีระดับการมีส่วนร่วมแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ด้านอาชีพ โดยภาพรวมระดับการมีส่วนร่วมแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กวี วงศ์พุฒ (2539). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริมวิชาชีพบัญชี.
จันทนา สุทธิจารี. (2544). การมีส่วนร่วมของประชาชน การเมืองการปกครองไทยตามรัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ: วี.เจ.
พริ้นติ้ง.
ชลธิชา ณ เชียงใหม่ (2546). แนวคิดเกี่ยวกับการเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย, วันที่ 17 ธันวาคม 2546.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2539).รัฐ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัชจิรา นาคศิริ.(2557). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนิสิตวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจมหาวิทยาลัยบูรพา. งานนิพนธ์รัฐ
ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา
ณัฐรินทร์ เฉลิมฤทธิวัฒน์ (2559). การมีส่วนร่วมทางการเมืองระดับท้องถิ่นของสตรีในเขตเทศบาล ตําบลชุมแสง อําเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง.(ออนไลน์). จาก: http://www2.gspa.buu.ac.th
เทศบาลตำบลไทรม้า (2561). วารสารรายงานกิจกรรมประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
เทศบาลตำบลไทรม้า (2561). วารสารรายงานกิจกรรมประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561
เทศบาลตำบลไทรม้า.ข้อมูลหน่วยงาน. สืบค้นเมื่อ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2562. จากhttps://www.saima.go.th/history.php
บุญยิ่ง โหมดเทศน์ (2545). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองชุมพร.(ออนไลน์).
จาก:http://www.thairesearch.org/result.php.
บุญเรือง บูรภักดิ์ . (2529). การมีส่วนร่วมทางการเมืองในการปกครองระบบประชาธิปไตย.รัฐสภาสาร, 34(10), 57
ปณรงค์ สินสวัสดิ์ (2527). จิตวิทยาการเมือง. กรุงเทพมหานคร : แพรพิทยา.
ประเวช แสงสุข. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตทวีวัฒนา.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา
บัณฑิต, สาขาวิชารัฐศาสตร์,บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปาจรีย สุโขบล และคณะ (2551). กระบวนการสื่อสารทางการเมืองขององคการบริหารสวนจังหวัดนครราชสีมา.สารนิพนธ์รัฐศาสตร
มหาบัณฑิต วิทยาลัยสื่อสารการเมืองมหาวิทยาลัยเกริก.
ปิยะ กิจถาวร , (2541).พฤติกรรมในการใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภา เทศบาลศึกษากรณี เทศบาล เมืองปัตตานี.สงขลา :
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ และอลงกรณ์ คูตระกูล. (2549). โครงการศึกษาข้อคิดเห็นของผู้มีส่วนร่วมโดยตรง (Direct stakeholders) ต่อ
การมีส่วนร่วมในการปกครองส่วนท้องถิ่นของสตรีในประเทศไทย (ศึกษากรณี องค์การบริหารส่วนตำบล ใน 4 จังหวัด 4
ภาค). กรุงเทพฯ:สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว และสุจิต บุญบงการ (2527). พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของคนไทย.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิชิต รัชตพิบุลภพ (2556). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของทหาร. นนทบุรี.มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์
ไพบูลย์ เติมสมเกตุ และคณะ (2533). คุณลักษณะและบทบาทของนายกเทศมนตรีที่พึงประสงค์ : ศึกษากรณี เทศบาลนครเชียงราย
อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย. สารนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก.
ภัทรวดี แก้วประดับ (2546). การตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาเทศบาลตำบลบ้านค่าย. ปัญหาพิเศษ(รปม.) สาขาวิชานโยบายสาธารณะ
มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภูสิทธ์ ขันติกุล (2553). รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (ออนไลน์).
จาก:http://graduate.hu.ac.th/thesis/2558/mpa/risme.pdf
รังสิมันต์ ปุณยปรรณานนท์ (2545).การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่น: ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างคณะกรรมการชุมชนกับ
ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลทางเกวียน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง.(ออนไลน์).
จาก: http://www.pub-law:net/article/ac.
ลิขิต ธีรเวคิน (2529). ความคิดเสรี. กรุงเทพมหานคร : แพรพิทยา.
วิชัย มีสุข (2558). ปัจจัยอันมีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิก สภาเทศบาล เทศบาลนคร
พระนครศรีอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา:ศึกษาเฉพาะผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่ 1.
วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยสยาม
สกนธ กรกฏ (2544). พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง : ศึกษากรณีเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 6มกราคม 2544 เขตเลือกตั้งที่ 1
จังหวัดพัทลุง.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สมชาย กลิ่นบัวแกว และคณะ (2533). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเมืองพัทยา.สารนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก.
สมสุดา ผู้พัฒน์ และจุฬารัตน์ ฒนะ. (2556). บทบาทสตรีกับพื้นที่ทางการเมือง. กรุงเทพฯ:สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สืบยศ ใบแย้ม (2545). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชนในจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุกฤตา จินดาพรม. (2555). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีในเขตพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของภูมิภาคตะวันตก.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชารัฐศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุพรรณษา อ่ำสุข และทัศนีย์ ทองจันดี (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้ง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด :ศึกษา
กรณีการเลือกตั้งองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ป พ.ศ.2555. (ออนไลน์).จาก: http://www.mis.krirk.ac.th
สุรพล กระแสรัตน์,(2544).การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้ง : ศึกษาเฉพาะ กรณีเทศบาลตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี
จังหวัดนราธิวาส .ปัตตานี : วิทยานิพนธ์ ,มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตาน
สัมฤทธิ์ ราชสมณะ (2530). กระบวนการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการ
ปกครอง จุฬาลงกร์มหาวิทยาลัย.
อรนุช โจมจตุรงค์ (2549). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครเขตประเวศ
กรุงเทพมหานคร.จาก:https://www2.gspa.buu.ac.th
อภิชาต การิกาญจน์. (2534). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน: ศึกษาแบบแผนตามมาตรวัดแบบกัตต์แมน.วิทยานิพนธ์
สังคมวิทยาและมานุษวิทยามหาบัณฑิต,สาขาวิชาสังคมวิทยา,คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อเนก เหล่าธรรมทัศน์ (2543). วิสัยทัศน์การปกครองท้องถิ่นและแผนการกระจายอำนาจ.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ดีแอลเอส.
Almond, G. A. & Verba S. (1963). The civic culture. Princeton: Princeton University Press.