มุมมองการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงพุทธ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นบทความวิชาการเพื่อนำเสนอมุมมองเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงพุทธในปัจจุบัน มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการพัฒนา 3 ด้าน คือ 1) ด้านการสร้างอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงพุทธ เป็นการส่งเสริมอัตลักษณ์ของการท่องเที่ยวด้วยการสร้างจุดเด่นในการท่องเที่ยวตามแนวพระพุทธศาสนา จัดกิจกรรมดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเยี่ยมชมวัดอย่างต่อเนื่อง พัฒนาภูมิทัศน์สิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับการท่องเที่ยวเชิงพุทธ พัฒนาด้านสถาปัตยกรรมเพื่อรองรับสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และสถานที่ปฏิบัติธรรมเป็นสัปปายะ สะอาด และสงบ 2) ด้านการสร้างภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงพุทธ เป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างองค์การในการท่องเที่ยวเชิงพุทธ ด้วยการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวเชิงพุทธให้มีศักยภาพเข้มแข็งและได้รับความนิยมเทียบเท่ากับการท่องเที่ยวประเภทอื่น ๆ และ 3) ด้านสร้างนวัตกรรมการท่องเที่ยวเชิงพุทธ เป็นการนำเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาระบบกลไกการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงพุทธให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สร้างและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศสำหรับการท่องเที่ยวเชิงพุทธครบวงจร พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงพุทธและการท่องเที่ยวสากลของโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด
Article Details
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ทรรศนะและข้อคิดเห็นในบทความวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มิใช่เป็นทรรศนะและความคิดของผู้จัดทำจึงมิใช่ความรับผิดชอบของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มา
References
Apakaro, S. (2015). Kān Thoṅgthiao Thāng Phraphūtthasātsanā Lae Watthanathām: Nayobāi Phonkrathop Lae Kān Chatkān Choeng Khrueakhai Phuea Soṅgsoem Sāng Chitsāmnuek Ruam Thāng Prawattisāt Lae Watthanathām Khoṅg Prachākhom Āsian [Religious and Cultural Tourism: Policy, Impact, and Network Management for Promote Consciousness of Histories and Culture in Asean Community]. Retrieved From https://elibrary.trf.or.th/project content.asp?PJID=RDG5850051.
Cheekiwong, U. (2005). Kān Thoṅgthiao Choeng Niwet [Ecotourism]. Bangkok: Starlight.
Chuchat, C. (2000). Ūtsāhakām kān Thoṅgthiao [Tourism industry]. (2nd edition). Chiang Mai: Chiang Mai Rajabhat Institute.
Collier, A. & Harraway, S. (1997). Principler of tourism. Auckland: Longman.
Cooper, C. & Boniface, B. G. (1998). Geography of travel and tourism. UK: Butterworth Heinemann.
Department of Religious Affairs, Ministry of Culture. (2013). Khūmūe Kān Patibat Satsana Phithī [Ordinance practice guide]. Bangkok: the Agricultural Co-operatives Federation of Thailand, LTD.
Department of Tourism. (2018). Phāen Yūtthāsāt Phātthāna Kān Thongthīao Pho.So.2561 - 2564 Khong Krom Kān Thongthīao [The Tourism Development Strategic Plan 2018 – 2021]. Bangkok: VIP COPY PRINT.
Fine Arts Department. (2007). Ūat Phāp Kāo Lāo Khwāmlaṅg [Showing off old pictures]. Nakhon Pathom: Petchkasem Printing Group.
Gee, Choy & Maskens, J. C. (1984). The Travel Industry. Westport Connecticut: AVI Publishing Retrieved From http://office.cpu.ac.th/researchoffice/index.php?option=com_content&view=article&id=57&Itemid=51
McIntosh, R. W., and Goeldner, C. R. (1986). Tourism Principle, Practices, Philosophies. 5th ed. New York: John Wiley and Sons, Inc.
Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto). (2007). Khwāmsāmkhan Khoṅg Phraphūtthasātsanā Nai Thāna Sātsanā Prachām Chāt [The importance of Buddhism as a national religion]. (11nd edition). Bangkok: thammasapa.
Sangchoei, T. (2007). Ūtsāhakām Kān Thoṅgthiao Lae Borikān [Tourism and service industry]. Phetchaburi: Faculty of Management Science Silpakorn University Information Campus.
Singchuwong, S. (2003). Wiwatthanākān Laeng Thoṅgthiao : Korani KoChang Changwat Trāt [Alternative : Tourist area cycle of evolution : a case study of Koh Chang, Trat province]. (Master of Thesis). Natthawattiyalaya Branch, Mahidol University.
Tanguthaisuk, D. (2009). Sakkayaphap Lāe Khwamphrom Khoṅg Sapphayākon Kān Thoṅgthiao Nai Changwat Nakhon Sawan [Potential and readiness of tourism resources in Nakhon Sawan province]. Retrieved From http://www.ttresearch.org/home/images/2553_3/3.pdf.
William, B. R. (1992). Strategies for Innovation. John Wiley and Sons, Inc.