สุขภาวะของครูมีผลต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ได้อธิบายถึงกรอบแนวคิดสุขภาวะของครู เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความหมายและมิติของสุขภาวะ เป็นสภาวะหรือสภาพที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต มาจากความสามารถของบุคคลนั้นหรือรัฐบาลสนับสนุน โดยมีมิติทางด้านวัตถุและด้านคุณภาพชีวิต ทั้งหมด 13 ด้าน 2) ความหมายและมิติของสุขภาวะของครู เป็นสภาพหรือสภาวะที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตจากการทำงานหรือประกอบอาชีพ ที่มีมิติ 4 มิติ ได้แก่ สุขภาพและสุขภาพจิต องค์กรหรือโรงเรียนที่มีสังคมการทำงานและความสัมพันธ์ที่ดี ความสามารถในการแก้ไขปัญหา และความพึงพอใจในการทำงานที่ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลซึ่งเป็นอัตตวิสัย 3) ความหมายของมิติของสุขภาวะของครูแต่ละด้าน ได้แก่ (1) การมีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ (2) การทำงานที่มีความสัมพันธ์ ความไว้เนื้อเชื่อใจที่ดี ระหว่างผู้บริหาร เพื่อนครู และนักเรียน (3) ความสามารถในการจดจ่อต่อการทำงาน การรับรู้ความสามารถของตนเอง (4) ความพึงพอใจในการทำงาน ความพึงพอใจในการประกอบวิชาชีพครู ความพึงพอใจต่อองค์กร ความพึงพอใจในชีวิต ความรู้สึกถึงความพอใจในการทำงาน 4) ผลของสุขภาวะของครูมีผลมีผลต่อสุขภาวะ ผลสัมฤทธิ์ และพฤติกรรมของนักเรียน
Article Details
References
คมชัดลึกออนไลน์. (11 กค 64). ส่อง "ภาระงานครู" เมื่อครูไม่ได้มีหน้าที่แค่การสอนหนังสือเด็กอย่างเดียว. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.komchadluek.net/kom-lifestyle/474002.
จารุวรรณ ทองขุนดำ, พร้อมพิไล บัวสุวรรณ และ มีชัย ออสุวรรณ. (2565). ภาวะหมดไฟของครูที่ไม่มีวิทยฐานะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 วิทยาเขตรัชโยธิน. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. 7 (2), 1083-1096.
ชลธิชา มะลิพรม. (2561). คุณภาพชีวิตของบุคลากรทางการศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์. 5 (ฉบับพิเศษ), 212-222.
เนตรนภา สุวรรณ์ และชนมณี ศิลานุกิจ. (2564). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนในสหวิทยาเขตเสรีไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 2. Journal of Roi Kaensarn Academi. 6 (3), 70-83.
บุญโรม สุวรรณพาหุ, อรัญญา ตุ้ยคัมภีร์ และ วรรณี แกมเกตุ. (2556). สุขภาวะของวัยรุ่น : กรอบมโนทัศน์และเครื่องมือประเมินทางจิตวิทยา. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 19 (2), 127-138.
ภาวิณี อุบล และสุวัฒนา เลี่ยมประวัติ. (2563). การศึกษาเนื้อหาที่ปรากฏในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อะไรอะไรก็ครู”. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 8 (1), 113-132.
ลฎาภา มาตผุย และสถิรพร เชาวน์ชัย. (2564). แนวทางการส่งเสริมความสุขในการทำงานของครูสำหรับผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 7 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. CMU Journal of Education. 5 (2), 1-14.
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ตุลาคม 2565). รายงานดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสังคมไทยประจำปี 2563. ewt_dl_link.php (nesdc.go.th)
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2 มิถุนายน 2565). ร่างธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ..... T3_02Jun2022.pdf (nationalhealth.or.th)
อธิคุณ สินธนาปัญญา, อภิธีร์ ทรงบัณฑิตย์, ราชันย์ บุญธิมา และวีระ สุภากิจ. (2557). การบริหารความสุขในสถานศึกษา. สุทธิปริทัศน์. 28 (88), 1-18.
อรทัย วลีวงศ์. (12 กุมภาพันธ์ 2564). SDG Updates | Good Health and Well-being: เมื่vนิยามของสุขภาพดี’ ไม่ได้หยุดอยู่แค่ร่างกายแข็งแรง. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2566. แหล่งที่มา: https://www.sdgmove.com/2021/01/25/sdg-updates-good-health-and-well-being/
Collie, R. J., & Martin, A. J. (2017). Teachers’ sense of adaptability: Examining links with perceived autonomy support, teachers’ psychological functioning, and students’ numeracy achievement. Learning and Individual Differences. 55, 29–39.
Dreer, B. (2021). Teachers’ well-being and job satisfaction: the important role of positive emotions in the workplace. Educational Studies. DOI:10.1080/03055698.2021.1940872
Dreer, B. (2022). Teacher well-being: Investigating the contributions of school climate and job crafting. Cogent Education. 9 (1), 2044583 .
Harding, S., Morris, R., Gunnell, D., Ford, T., Hollingworth, W., Tilling, K., et al. (2019). Is teachers’ mental health and wellbeing associated with students’ mental health and wellbeing?. Journal of Affective Disorders. 242, 180–187.
Haschera, T. & Waber, J. (2021). Teacher well-being: A systematic review of the research literature from the year 2000–2019. Educational Research. Review. 34 (8), 1-25
OECD. (2014). How's Life in Your Region? Measuring Regional and Local Well-being for Policy Making. https://doi.org/10.1787/9789264217416-en
OECD. (2019). OECD Future of Education and Skills 2030, OECD Learning Compass 2030 a Series of Concept Notes. OECD
Schleicher, A. (2018). Valuing our Teachers and Raising their Status: How Communities Can Help, International Summit on the Teaching Profession. OECD Publishing: Paris
Seligman, M. E. P. (2011). Flourish: A Visionary New Understanding of Happiness and Well-Being. NY: Free Press: New York.
Sigursteinsdottir, H., Rafnsdottir, G.L. (2022). The Well-Being of Primary School Teachers during COVID-19. Int. J. Environ. Res. Public Health. 19, 11177. https:// doi.org/ 10.3390/ijerph191811177
Viac, C and Fraser, P. (2020). Teachers’ well-being: A framework for data collection and analysis. https://doi.org/10.1787/c36fc9d3-en