การขับเคลื่อนสู่ความเป็นเมืองที่ยั่งยืน: การวิเคราะห์บทบาทของเมืองอัจฉริยะ ภาคีเครือข่ายและการบริหารจัดการของเทศบาลนครขอนแก่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นเมืองที่ยั่งยืนได้แก่ เมืองอัจฉริยะ ภาคีเครือข่ายและการบริหาร การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณมีกลุ่มตัวอย่างที่เก็บในพื้นที่เทศบาลนครขอนแก่น จำนวน 400 คน โดยใช้การสุ่มตามความสะดวก (Convenience Sampling) และเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เก็บข้อมูลกับประชาการในเขตเทศบาลนครขอนแก่นที่มีอายุตั้งแต่18 ปีขึ้นไปและใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการวิเคราะห์การถดถอย
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นเมืองที่ยั่งยืนได้แก่ เมืองอัจฉริยะ ภาคีเครือข่ายและการบริหาร พบว่า การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็นเมืองที่ยั่งยืนได้แก่ เมืองอัจฉริยะ ภาคีเครือข่ายและการบริหาร ได้พบตัวแปรต้น 3 มิติ ได้แก่ เมืองอัจฉริยะ ภาคีเครือข่าย และการบริหารงานมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกระดับปานกลางถึงสูงกับตัวแปรตาม (ความเป็นเมืองที่ยั่งยืน) โดยปัจจัยเมืองอัจฉริยะด้านการจัดการภาครัฐ ด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยภาคีเครือข่ายมิติภาครัฐ มิติภาคอุตสาหกรรม และปัจจัยการบริหารงาน ด้านการทำงานเป็นทีมและด้านกลยุทธ์ สามารถพยากรณ์ความเป็นเมืองที่ยั่งยืนได้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ซึ่งอิทธิพลของตัวแปรเชิงสาเหตุดังกล่าวทำนายตัวแปรตามได้ร้อยละ 75 ข้อเสนอแนะเชิงนโนบายต่อการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืนได้แก่ ควรเสริมสร้างทักษะและการศึกษาให้กับประชากรที่เหมาะสมเช่น การสนับสนุนการศึกษาอาชีพและการฝึกอบรมที่ทันสมัย เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำงานและอุตสาหกรรมของอนาคตให้กับประชากรในเมือง ควรจัดกิจกรรมเพื่อให้ประชาชนมองเห็นถึงความสำคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและ ควรมีการสนับสนุนกิจกรรมทางสังคมและการชุมชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและชุมชน
Article Details
References
Athit Phutthithaksaeng. (2023). Administration and Sustainable Development Affecting the Life Quality of People in Nakhon Ratchasima Province. Journal of Nakhon Ratchasima College of Humanities and Social Sciences, 17 (1), 316-316.
Atitaya Sukprasert. (2010). Vision of a Livable City and Development Strategies of Civil Society in Pak Nam Prasae Subdistrict Municipality, Klaeng District, Rayong Province. Chanthaburi: Faculty of Local Administration, Rambhai Barni Rajabhat University.
Bastidas, V. &. (2017). Cities as Enterprises: A comparison of Smart City Frameworks based on Enterprise Architecture requirements. In Alba E., & Chicano F., & Luque G. (eds). Smart Cities. Smart-CT 2017. Lecture Notes in Computer Science, vol 10268. Springer International Publishing.
Brahmakappa, A. (2021). The Management and Model of Smart Cities from a Buddhist Perspective to Enhance the Quality of Life in Terms of Morality and Ethics in Villages and Communities in Nakhon Sawan Province. Journal of Buddhist Anthropology, 6 (11), 35-47.
Campbell, T. (2013). Beyond smart cities: how cities network, learn and innovate. Routledge.
Chaiyut Tanchai, Waranyu Senasu, Thianthawat Srijaingam, and Ekachai Sumalee. (2019). Action Research Project on Local Development Towards a Sustainable Smart City, Phase 2 (Smart City). Final Research Report. Bangkok: King Prajadhipok's Institute, College of Local Administration Development.
Dominic M. Mezzanotte, D. M. (2012). Enterprise Architecture: A Framework Based on Human Behavior Using the Theory of Structuration. Software Engineering Research, Management and Applications. SCI630.
Doshi, V. &. (2011). Impact of inter-organizational relationships on organizational learning. Working Paper. Indian: Indian Institute of Management Ahmedabad-380-015.
Ekstedt, M. (2004). Enterprise Architecture for IT Management: A CIO Decision Making Perspective on the Electric Power Industry. Department of Industrial Information and Control Systems. Stockholm: KTH, Royal Institute of Technology.
Department of Provincial Administration. (2000). Sustainable Development. Bangkok: Ministry of Interior.
Dueanphen Khampuang, Suphaporn Thaipakdee, & Phanchit Seenieng. (2016). Process of Building Sustainable Agro-tourism Networks in Pak Chong District, Nakhon Ratchasima Province. Thai and International Tourism Journal, 12 (1), 65-90.
Digital Economy Promotion Agency. (2020). Smart City. Bangkok: Special Projects and Digital and Innovation Development Center.
Ekachai Sumalee and Chaiyut Tanchai. (2019). Smart City: Basic Concepts and Operating Systems for Cities in the Digital Age. Bangkok: King Prajadhipok's Institute.
Giffinger, R. &. (2014). Smart Cities – europeansmartcities 3.0. Vienna. Online. Retrieved September 3, 2023, from http://www.smart-cities.eu/?cid=2&ver=3
Giffinger, R. &.-M. (2007). Smart Cities: Ranking of European Medium-sized Cities. Vienna: Centre of Regional Science.
Han, M. J. N., & Kim, M. J. (2021). A critical review of the smart city in relation to citizen adoption towards sustainable smart living. Habitat International, 108, 102312.