วิวัฒนาการลังกาสิบโหฉบับต่างๆในมณฑลยูนนานสาธารณรัฐประชาชนจีน

Main Article Content

Haihua Zhao
บุญเหลือ ใจมโน
ขนิษฐา ใจมโน
เจือง ธิ หั่ง

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้มุ่งการศึกษาการวิวัฒนาการลังกาสิบโหฉบับต่างๆในมณฑลยูนนานสาธารณรัฐประชาชนจีน ในด้านเนื้อเรื่องแตกต่างเพื่อให้เห็นถึงความสัมพันธ์นิทานพระรามในภูมิภาค วิพัฒนาลังกาสิบโหในยูนนานที่จีนและสาเหตุที่นิทานพระรามจีนเกิดมีสำนวนต่างๆ ผ่านกระบวนการแปร ในการศึกษาพบว่าปัจจุบันนี้ลังกาสิบโหในมีทั้งหมด 8 ฉบับ นิทานพระรามติดพุทธศาสนาเผยแพร่กระจายในอาเซียนจนเข้าถึงยูนนานที่จีนมีความแตกต่างกัน ผู้แต่งชาวไตได้มีการดัดแปลงในแต่ละสมัยและแต่ละถ้องถิ่น จนให้เกิดมีการจบเรื่องเป็นโศกนาฏกรรม และได้ปรับให้เข้ากับสังคม ประเพณีและวัฒนธรรมชาวไต จึงทำให้นิทานพระรามที่แพร่กระจายจากอินเดียเข้ามายูนนานประเทศจีนมีบทเรื่องผิดแผกกันไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองบรรณาธิการ "คามีเลีย". (1982). การดำเนินการประชุมวิชาการวรรณกรรมไต. ยูนนาน: สำนักพิมพ์วรรณกรรมและศิลปะพื้นบ้านจีน (ฉบับยูนนาน).

ดวงมน จิตร์จํานงค์. (2561). หลังม่านวรรณศิลป์. นนทบุรี: สัมปชัญญะ.

ตรีศิลป์ บุญขจร. (2553). ด้วยแสงแห่งวรรณคดีเปรียบเทียบ วรรณคดีเปรียบเทียบ:กระบวนทัศน์และวิธีการ.กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วรรณกรรมศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Cao Shunqing. (2005). การศึกษาว่าด้วยวรรณคดีเปรียบเทียบ. เฉิงตู: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเสฉวน

Cao Shunqing. (2011). ทฤษฎีทั่วไปวรรณคดีเปรียบเทียบ. ปักกิ่ง: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยประชาชนแห่งชาติจีน

Dao xingping,Yan wenbian, Gao Dengzhi ,Shang Zhonghao and Wu Jun. (1981). ลังกาสิบโห. คุนหมิง: สำนักพิมพ์ประชาชนยูนนาน.

Fu guangyu. (1999). วรรณคดีชาติพันธุ์ยูนนานและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. คุนหมิง: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยยูนนาน.

Gao Dengzhi,และShang Zhonghao. (1983). ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างลังกาสิบโห และรามายณะ. วารสารแนวคิดอุดมการณ์มม. 10 (5), 74-79.

Hu Bameng. (1981). การศึกษากวีชาวไต. ยูนนาน: สำนักพิมพ์วรรณกรรมพื้นบ้านจีน (ยูนนาน)

Liu Yan. (1991). พระพุทธศาสนาภาคใต้และวัฒนธรรมไต. คุนหมิง: สำนักพิมพ์สัญชาติยูนนาน

Su Dawan. (1981). วัสดุวรรณกรรมของชนกลุ่มน้อยยูนนาน เล่มที่4-6. ยูนนาน: สถาบันอาสาสมัครชนกลุ่มน้อยยูนนานแห่งสังคมศาสตร์จีน สถาบันสังคมศาสตร์วรรณกรรมพื้นบ้านแห่งมณฑลยูนนาน สมาคมวิจัยวรรณกรรมและศิลปะพื้นบ้านจีนสาขายูนนาน

Wang Yizhi and Yang Shiguang. (1990). การศึกษาวัฒนธรรมใบลาน. คุนหมิง: สำนักพิมพ์ชาติพันธุ์ยูน

Yan wen,Yan feng and Wang song. (1990). ลังกาสิบสองหัว. ปักกิ่ง: โรงงานการพิมพ์กำแพงเมืองปักกิ่งฉางผิง.

Yan Feng,Wang Song and Dao Baoyao. (2014). ประวัติวรรณคดีไต. คุนหมิง: สำนักพิมพ์ชาติพันธุ์ยูนนาน

Zheng Xiaoyun. (2004). การศึกษาสาเหตุเบื้องต้นของเรื่องราวของ "ลังกาสิบโห" ในฉบับต่างๆ ของชนชาติไต. การศึกษาในศิลปะแห่งชาติ. 4 (02), 63-68.

Zhong Jingwen. (2010). วรรณคดีพื้นบ้านเบื้องต้น. ปักกิ่ง: สำนักพิมพ์อุดมศึกษา.