อิทธิพลของการบริหารสมัยใหม่ พลวัตการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การจัดการความขัดแย้ง และการยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อ การจัดองค์การแห่งการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล

Main Article Content

ปิยะมาศ สื่อสวัสดิ์วณิชย์

บทคัดย่อ

           การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการบริหารสมัยใหม่ พลวัตการเรียนรู้          การจัดการความรู้ การจัดการความขัดแย้ง และการยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อการจัดองค์การแห่ง การเรียนรู้ในยุคดิจิทัล และ 2) เพื่อให้ได้แนวทางการจัดองค์การแห่งการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารระดับสูง และผู้บริหารระดับกลาง ที่ได้จากการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจงที่เป็น ผู้บริหารงานด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ทำงานมาแล้วมากกว่า 3 ปี จำนวน 400 คน โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย () ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์โมเดลการวัดและโมเดลเชิงโครงสร้าง
           ผลการวิจัย พบว่า 1) อิทธิพลของการบริหารสมัยใหม่ พลวัตการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การจัดการความขัดแย้ง และการยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อการจัดองค์การแห่งการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ค่าดัชนีความสอดคล้องกลมกลืนกันของโมเดล Hu and Bentler (1998) กล่าวว่า ให้ดูค่า SRMR และ CFI หรือ TLI หรือ RMSEA ค่าใดค่าหนึ่งก็เพียงพอแล้ว ผลที่ได้ คือ SRMR = 0.077 (ต่ำกว่าเกณฑ์ 0.08) และค่า CFI = 0.97 ส่วนค่าอื่น ๆ มี NFI = 0.967 TLI = 0.972 (ถือว่าผ่านเกณฑ์) ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ยอมรับได้อย่างน่าพอใจ โดยด้านพลวัตการเรียนรู้และการจัดการความขัดแย้งมีอิทธิพลต่อการยอมรับการเปลี่ยนแปลง และการยอมรับการเปลี่ยนแปลงมีอิทธิพลการจัดองค์การแห่งการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 2) แนวทางการจัดองค์การแห่งการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ตัวแปรที่ส่งผลทางตรง คือ การยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อการจัดองค์การแห่งการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล มีนัยสำคัญทางสถิติ 0.001

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล. (2564). องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning organization : LO). ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2565. แหล่งที่มา: https://www2.si.mahidol.ac.th/km/ knowledgeassets/definition/1920/

นพรัตน์ มังสา และ ภัทริยา พรหมราษฎร์. (2565). ทักษะการเรียนรู้เชิงพลวัตที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการทำงานของผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด. Journal of Management and Development Ubon Ratchathani Rajabhat University. 9 (2), 49-66.

บังอร สุวรรณมงคล. (2560). คุณทำการตลาดแบบมี Strategy หรือมีแค่ Tactics?. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566. แหล่งที่มา: https://www.marketingoops.com/exclusive/insider-exclusive/strategy-tactics/

พรชัย เจดามาน, เผชิญ กิจระการ, กลวัชร วังสะอาด และเบญจภัคร จงหมื่นไวย์. (2564). การพัฒนาการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566. แหล่งที่มา: https://www.kroobannok.com/createpdf.php?article_id=88772

ภูวณ อัษวกรนฤางกูร. (2562). การปรับตัวของผู้ให้บริการขนส่งโลจิสติกส์ไทยในยุคดิจิทัล. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566. แหล่งที่มา https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view /231791/158071

วรัญญา กลัวผิด. (2560). การจัดการความขัดแย้งที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สังกัดพื้นที่กลุ่มเครือข่ายภาคกลาง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุทธาพัฒน์ อมรเรืองตระกูล และณัชชา กริ่มใจ. (2563). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาธุรกิจนําเที่ยวในประเทศไทยสู่องค์การที่เป็นเลิศในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล. สยามวิชาการ. 21 (2), 17-33.

สุมลณาฏ จีรปีติกุล และวรวัฒน์ จรดล. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการขับเคลื่อนองค์กรในรูปแบบ Digital transformation. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 5 วันที่ 3 เมษายน 2566.

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณาและ รัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2557). สถิติการวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

อรจิรา ธนรัช. (2564). กรณีศึกษาบริษัทโลจิสติกส์ในไทยกับการปรับตัวในวิกฤตโควิด. มหาวิทยาลัยมหิดล.

Bagozzi, R., & Yi, Y. (1988). On the evaluation of structural equation models. Journal of the Academy of Marketing Sciences. 16, 74-94.

Bentler, P. M., & Bonett, D. G. (1980). Significance test and goodness of fit in the analysis of covariance structures. Psychological Bulletin. 88, 588-606.

Cochran, W.G. (1953). Sampling Techniques. New York : John Wiley & SonsCzerniachowicz, B. (2022X. Implementing modern management orientation with the use of IT technologies in public administration in Poland, Procedia Computer Science, 207, 4496-4503, https://doi.org/10.1016/j.procs.2022.09.513.

Diamantopoulos, A. & Siguaw, J. A. (2000). Introducing LISREL. London: Sage.

Erkutlu, H. & Chafra, J. (2015). The mediating roles of psychological safety and employee voice on the relationship between conflict management styles and organizational identification. Am. J. Bus.,30(1), 72-91.

Field, A. (2005). Discovering statistics using SPSS (2nd ed.) London: Sage

Furxhi, C. G., Stillo, S., & Teneqexhi, M. (2016). Organizational Change: Employees Reaction Towards It. European Journal of Multidisciplinary Studies. 1 (1), 303-308

Gavin, D. A., Edmondson, C. and Gino, F. (2008a). Is you’re a Learning Organization?. Harvard Business Review. 86 (3), 109 - 116.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis (6th ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2014). Multivariate data analysis (7th ed.). Harlow, United Kingdom: Pearson.

Hu, L., & Bentler, P. (1998). Fit Indices in Covariance Structure modeling: Sensitivity to under parameterized model misspecification. Psychological Methods. 3, 424-453.

Lai, K. H., Wong, C. W. Y., & Cheng, T. C. E. (2010). Bundling digitized logistics activities and its performance implications. Industrial Marketing Management, 39, 273-286.

Likert, R. (1961). New Pattern of Management. New York: McGraw-Hill.

Ito, K. & Iijima, M. (2017). Integrated reporting and its impact on organisational change. International Journal of Human Resources Development and Management. 17(1/2), 73.

MARKETEER TEAM. (2565). เปิดยุค Digital 1.0-4.0. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2565. แหล่งที่มาhttps://marketeeronline.co

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

Phillips, L. W. (1981). Assessing measurement error in key informant reports: A

methodological note on organizational analysis in marketing. Journal of Marketing Research. 18, 395-415.

Rodrigo, L., Benjamin., N, & Kim, C. (2016). Elucidating the relationship between Sustainability Reporting and Organisational Change Management for Sustainability, Journal of Cleaner Production. 125, 168-188,

Rogers, E. M. (1995). Diffusion of Innovations. (4th Ed), New York: The Free Press.

Schermerhorn, J. R., Hunt, J. G., & Osborn, R. A. (2005). Organizational behavior (8th Ed.). NJ: John Wiley & Sons.

Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling (3rd ed.). New York: Routledge.

STEPS Academy. (2563). 7 แนวทางการปรับเปลี่ยนองค์กรของท่านด้วยการใช้ Digital Transformation. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2565. แหล่งที่มา https://stepstraining.co/strategy /how-to-implement-hr-digital-transformation-to-the-organization

Tabachnick, B. G., & Fidell, L. S. (2007). Using Multivariate Statistics (5th ed.). New York: Allyn and Bacon.