องค์ประกอบของนวัตกรรมสีเขียวของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

Main Article Content

ภัทรพล ชุ่มมี

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของนวัตกรรมสีเขียวสำหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากผู้ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตกรุงเทพและปริมลฑลจำนวน 400 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถาม ผลการทดสอบค่าความสอดคล้องแล้วมีค่าระหว่าง 0.60-1.00
          ผลการวิจัยพบว่าของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สีเขียวด้านผลิตภัณฑ์ที่ง่ายต่อการรีไซเคิล ใช้ซ้ำ และย่อยสลายได้ ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมมีความสำคัญมากที่สุด สนับสนุนด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพที่พบว่าโดยที่ต้องนำวัตถุดิบมาใช้ในกระบวนการผลิตที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม รวมถึงต้องการสร้างความโดดเด่นให้แก่สินค้าของตนเอง เน้นการใช้วัตถุดิบที่ท้องถิ่นหรือในภูมิภาคนั้น ๆ ด้านนวัตกรรมกระบวนการสีเขียว พบว่ามีกระบวนการผลิตสามารถลดการใช้น้ำ ไฟฟ้า ถ่านหินหรือน้ำมัน (พลังงาน) สู่สิ่งแวดล้อมได้มีความสำคัญมากที่สุด สอดคล้องกับการวิจัยเชิงคุณภาพที่พบว่า ผู้ประกอบการจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับสินค้าที่ผลิตโดยเฉพาะสินค้าที่ต้องได้มาตรฐาน กระบวนการผลิตลดการใช้พลังงาน เก็บรักษาได้นาน มีความเหมาะสมกับผู้บริโภคในแต่ละช่วงวัย โดยเฉพาะการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
           ผลการตรวจสอบดัชนีวัดความสอดคล้อง ของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สีเขียว และนวัตกรรมกระบวนการสีเขียวพบว่า c2/df มีค่าระหว่าง 1.61-1.74 ค่า CFI, NFI, GFI และ AGFI มีค่าระหว่าง 0.91-0.97 มีค่ามากกว่า 0.90 และค่า RMR, RMSEA มีค่าระหว่าง 0.048-0.054


ข้อเสนอแนะ สำหรับผู้ประกอบการต้องสร้างจิตสำนักด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นำวัตถุดิบรีไซเคิลมาใช้ในกระบวนการผลิต ลดกระบวนการผลิตที่ไม่จำเป็นลด รวมถึงขั้นตอนต่าง ๆ ร่วมกันสร้างและออกแบบผลิตภัณฑ์แบบใหม่ ๆ ให้มีมูลค่าเพิ่ม ลดขั้นตอนการผลิตและทรัพยากรที่ไม่จำเป็นลด ร่วมกับการพัฒนาสินค้า รวมถึงต้องเน้นการออกแบบสินค้า และบรรจุภัณฑ์ให้มีความทันสมัย สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ เน้นความเป็นสากล โดยต้องเชื่อมโยงการออกแบบสินค้าให้เป็นมาตรฐานสากลให้มากยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ภัทรพล ชุ่มมี, วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

ภัทรพล

References

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิธิวดี บีววัฒน์. (2565). ยกระดับ SMEs ในเอเชียให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพธุรกิจ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2565. แหล่งที่มา: https://www.bangkokbiznews.com/columnist/1006687

รักษ์ วรกิจโภคาทร. (2566). Green SMEs. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2566. แหล่งที่มา: https://moneyandbanking.co.th/2023/67981/

รัฐบาลไทย. (2665). โมเดลเศรษฐกิจ BCG. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2565. แหล่งที่มา: https://www.thaigov.go.th /news/contents/ministry_details/38369.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2544). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เฟื้องฟ้า.

สุชาติ อำนาจวิภาวี และคณะ. (2563). นโยบายของภาครัฐบาลในการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้เกิดความยั่นยืน. Journal of Administration and Management Innovation. 8 (3), 56-66.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2563). ความหมายของวิสาหกิจชุมชน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2564. แหล่งที่มา: https://www.sme.go.th/th/?

ศุภัคษร มาแสวง และคณะ. (2565). กระบวนการผลิตและการพัฒนากระบวนการผลิตภัณฑ์ไข่เค็ม. วารสาร เทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. 4 (1), 93-105.

ฐานเศรษฐกิจ. (2565). SMEs สู่ธุรกิจสีเขียวเจาะตลาด New Normal. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2565 . แหล่งที่มา: https://www.thansettakij.com/business/438535.

Ahmed, R. R., Akbar, W., Aijaz, M., Channar, Z. A., Ahmed, F., & Parmar, V. (2023). The role of green innovation on environmental and organizational performance: Moderation of human resource practices and management commitment. Heliyon. 9 (1).

Baeshen, Y., Soomro, Y. A., & Bhutto, M. Y. (2021). Determinants of green innovation to achieve sustainable business performance: Evidence from SMEs. Frontiers in Psychology, 12, 767968.

Brown, T. A. (2015). Confirmatory Factor Analysis for Applied Research (2nd ed.). New York, NY: Guilford Publications.

Guinot, J., Barghouti, Z., & Chiva, R. (2022). Understanding green innovation: A conceptual framework. Sustainability. 14 (10), 5787.

Hancock, G. R., & Mueller, R. O. (2001). Rethinking Construct Reliability within Latent Variable Systems. In R. Cudeck, S. du Toit, & D. S?rbom (Eds.), Structural Equation Modeling: Present and Future—A Festschrift in Honor of Karl Joreskog. Lincolnwood, IL: Scientific Software International.

Hair, J. F., Anderson, R. E., Tatham, R. L., & Black, W. C. (2010). Multivariate Data Analysis with Readings. Upper Saddle River, NJ.: Prentice-Hall.

Hair, J. F., Anderson, R. E., Talham, R. L., & Black, W. C. (1998). Multivariate data analysis (5th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Hussain, Z., Mehmood, B., Khan, M. K., & Tsimisaraka, R. S. M. (2022). Green growth, green technology, and environmental health: evidence from high-GDP countries. Frontiers in Public Health, 9, 816697.

Kemp, R. and Pearson, P. (2008) MEI project about Measuring Eco-Innovation, Final report, Maastricht. Online. Retrieved September 17, 2022. From: https://www.oecd. org/env/consumption-innovation/43960830.pdf. (online).

Leal-Millan, A. (2020). Encyclopedia of Creativity, Invention, Innovation and Entrepreneurship. Online. Retrieved: September 22, 2022. From: https://link.springer. com/referencework /10.1007/978-1-4614-6616-1

Li, H. (2022). Green innovation, green dynamic capability, and enterprise performance: evidence from heavy polluting manufacturing enterprises in China. Complexity, 2022, 1-13.

Marco-Lajara, B., Zaragoza-Saez, P., & Martínez-Falcó, J. (2022). Green Innovation: Balancing Economic Efficiency with Environmental Protection. In Frameworks for Sustainable Development Goals to Manage Economic, Social, and Environmental Shocks and Disasters (pp. 239-254). IGI Global.

Min, K. A. N. G. (2023). GREEN INNOVATION STRATEGY ON FIRM PERFORMANCE: THE EVIDENCE FROM MANUFACTURING INDUSTRY IN CHINA. Procedia of Multidisciplinary Research, 1(4), 5-5.

MIT Technology Review. (2022). The Green Future Index. Online. Retrieved October 1, 2022. From: https://www.technologyreview.com/2022/03/24/1048253/the-green-future-index-2022/.

Muangmee, Chaiyawit, Zdzisława Dacko-Pikiewicz, Nusanee Meekaewkunchorn, Nuttapon Kassakorn, and Bilal Khalid. (2021). Green Entrepreneurial Orientation and Green Innovation in Small and Medium-Sized Enterprises (SMEs). Social Sciences 10(4): 1-15.

Singh, S. and Giudice, M. (2021). Stakeholder Pressure, Green Innovation, and Performance in Small and Medium-Sized Enterprises: The Role of Green Dynamic Capabilities. Business an Strategy and the Environment. 31(1), 500-514.

Wang, M., & Liu, Z. (2022). How do green innovation strategies contribute to firm performance under supply chain risk? evidence from China’s manufacturing sector. Frontiers in Psychology, 13, 894766.

Yuan, B. and Cao, X., (2022). Do Corporate Social Responsibility Practices Contribute to Green Innovation? The Mediating Role of Green Dynamic Capability. Technology in Society, 68, 101868.

Wang, Y., Tian, C., Jiang, X., & Tong, Y. (2023). Development of Scales for the Measurement of Executive Green Leadership and Exploration of Its Antecedents . Sustainability, 15(13), 9882.

Yuan, B. and Cao, X., (2022). Do Corporate Social Responsibility Practices Contribute to Green Innovation? The Mediating Role of Green Dynamic Capability. Technology in Society, 68, 101868.

Zhang, L., Zhao, S., Cui, L., & Wu, L. (2020). Exploring green innovation practices: Content analysis of the fortune global 500 companies. Sage Open, 10(1), 2158244020914640