การพัฒนารูปแบบดิจิทัลเลิร์นนิงด้วยการเรียนรู้เชิงสถานการณ์และการคาดการณ์ร่วมกับการกำกับตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์

Main Article Content

นิภาพร สอนสุด
สุภาณี เส็งศรี
อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง
ดิเรก ธีระภูธร

บทคัดย่อ

           งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและขั้นตอนของการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ   ดิจิทัลเลิร์นนิงด้วยการเรียนรู้เชิงสถานการณ์และการคาดการณ์ร่วมกับการกำกับตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ 2) เพื่อสร้างรูปแบบดิจิทัลเลิร์นนิงด้วยการเรียนรู้เชิงสถานการณ์และการคาดการณ์ร่วมกับการกำกับตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ 3) เพื่อทดลองใช้การเรียนรู้ด้วยรูปแบบดิจิทัลเลิร์นนิงด้วยการเรียนรู้เชิงสถานการณ์และการคาดการณ์ร่วมกับการกำกับตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ 4) เพื่อประเมินการความพึงพอใจของผู้ใช้รูปแบบดิจิทัลเลิร์นนิงด้วยการเรียนรู้เชิงสถานการณ์และการคาดการณ์ร่วมกับการกำกับตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างการวิจัย ได้แก่ เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์เรือนจำอำเภอสวรรคโลกจำนวน 30 คน    โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดย 1) แบบทดสอบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  2) แบบประเมินความพึงพอใจของรูปแบบดิจิทัลเลิร์นนิง และวิเคราะห์ข้อมูลค่าเฉลี่ย 3) แบบประเมินรับรองรูปแบบดิจิทัลเลิร์นนิง   สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์เนื้อหา (S.D.), การทดสอบสมมติฐานด้วยค่า t-test dependent       

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมราชทัณฑ์. (2561). ลักษณะงานพิเศษของงานราชทัณฑ์. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2563. แหล่งที่มา: http://www.correct.go.th/?page_id=12249

กรมราชทัณฑ์. (2563). รายงานการศึกษาการวิเคราะห์โครงสร้างอายุข้าราชการพลเรือนสามัญของกรมราชทัณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงระยะ 5 ปี. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2565. แหล่งที่มา: http://www.correct.go.th/infosaraban63/letter /filepdf/1598950760.pdf

กิตติมา สาธุวงษ์ (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานที่ใช้บทเรียนมัลติมิเดียเชิงสถานการณ์และวิธีการฝึกหัดทางปัญญาจากต้นแบบเพื่อเสริมสร้างทักษะการใช้เหตุผลทางคลินิกของนักศึกษาพยาบาล. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กอบสุข คงมนัส. (2561). เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ : วิถีแห่งการศึกษายุคดิจิทัล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 20 (4), 279-290.

จิระ ว่องไววิริยะ. (2556). ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้การเรียนรู้กระบวนเผชิญสถานการณ์ในสาระพัฒนาสังคมและชุมของผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอชะเมา จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี.

ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550). E-Instructional Design : วิธีวิทยาการออกแบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ : จุลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชุมพร รุ่งเรือง. (2555). การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงสถานการณ์ร่วมกับการใช้ตัวแบบการบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์สำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี.

ณัฐกฤตา ศิริโสภณ (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บตามแนวคิดการสร้างสรรค์ด้วยปัญญาเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาเทคโนโลยีการศึกษา. ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ดิเรก ธีระภูธร.(2546). การใช้กลวิธีการกำกับตนเองในการเรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพมหานคร: สถาบันคุณภาพวิชาการ.

เพ็ญพิศุทธ์ เนคมานุรักษ์. (2537). การพัฒนารูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักศึกษาครู. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัชราภรณ์ พิลาสมบัติ (2559). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการสืบสอบและการเรียนรู้เชิงสถานการณ์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการทำวิจัยของนักศึกษาครู. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เพลินตา พรมบัวศรี. (2545). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงสถานการณ์เพื่อเสริมสร้างความสามารถทางวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล. ปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. ภาควิชามัธยมศึกษา. คณะครุศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มลิวัลย์ สมศักดิ์. (2540). รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนในโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต. สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

รุจโรจน์ แก้วอุไร. (2548). การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายใยแมงมุม. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต. สาขาเทคโนโลยีการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วชิราภรณ์ อำไพ. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงสถานการณ์จากสื่อในชีวิตประจำวันที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดไตร่ตรองการบริโภคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล. (2562). Digital Learning. ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร. ออนไลน์ สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2563 แหล่งที่มา: www.curri culumandlearning.com

สริญญา มารศรี. (2562). การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในศตวรรษที่ 21. วารสาร มจร นครน่านปริทรรศน์. 3 (2), 105-122.

สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ องค์การมหาชน. (ม.ป.ป). ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21. ออนไลน์ สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2563. แหล่งที่มา https://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/262/

ศรากร บุญปถัมภ์ และ สมพงษ์ แตงตาด (2558). การพัฒนาระบบการจัดการศึกษาทางไกลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษาระบบทวิภาคี ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 7 (1), 324-337.

สุนิสา แก้วมา. (2564). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงสถานการณ์ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดสถาบันการพลศึกษา กลุ่มภาคกลาง. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลับราชภัฎจันทรเกษม.

สุวิทย์ มูลคำ (2549). กลยุทธ์ การสอนคิดอย่างมีวิจารณญาณ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.

อานวัฒน์ บุตรจันทร์. (2552). ผลของการสอนเสริมด้วยพอดคาสต์โดยใช้กลวิธีในการกำกับตนเองในรายวิชาผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการกำกับตนเองของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต. ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา. ภาควิชาหลักสูตร. การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อารียา ศิโรดม. (2545). ผลของการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการเรียนการสอนสังคมศึกษาที่มีต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิต สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย. ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุ่นตา นพคุณ. (2528). แนวคิดทางการศึกษานอกระบบโรงเรียนและการพัฒนาชุมชน เรื่อง คิดเป็น. กรุงเทพมหานคร: กรุงสยามการพิมพ์.

Driscoll, M. (2002). Blended Learning : Let’s Go Beyond the Hype e-Learning. Online. Retrieved February 1, 2020. from : https://www.researchgate.net/publication/286 029739_Blended_learning_Let's_get_beyond_the_hype

Dorothy D’ Souza A. C. (2018). Effect of Situated Learning Model on Critical Problem Solving Skills Among Higher Secondary Pupils. I-manager’s Journal on School Educational Technology. 14 (1), 27-34.

Kumar Basak, S., Wotto, M., & Bélanger, P. (2018). E-learning, M-learning and D-learning: Conceptual definition and comparative analysis. E-Learning and Digital Media, 15(4), 191–216. Online. Retrieved February 1, 2020. from : https://doi.org/10.1177/204 27 53018785180

Pittaro, Michael. (2018). 9 soft skills every criminal justice professional needs. Corrections1. Online. Retrieved February 1, 2020. from : https://www.corrections1.com/ameri can-military-university/articles/9-soft-skills-every-criminal-justice-professional-needs-D8HR9La3uzDI8Y8L/

Wespace. 2018. เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2565. แหล่งที่มา: https://wespace.in.th/explore/career/A0201.00