การประยุกต์ใช้การยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อพัฒนาความอ่อนตัวของนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

Main Article Content

ภาพพิมพ์ วังบุญคง
ชัชวาลย์ วิชัยสุชาติ

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ ด้านความอ่อนตัวของของนักศึกษา สาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-2 สาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง จำนวน 120 คน วิธีการได้มากลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษา สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง จากการทดสอบสมรรถภาพทางกาย รายการความอ่อนตัว เกณฑ์มาตรฐานสมรรถ ภาพทางกายสำหรับประชาชน อายุ 19 - 59 ปี เพศชาย-หญิงที่มีค่าความอ่อนตัว ตั้งแต่ระดับต่ำมาก-ระดับต่ำ ตามเกณฑ์อายุของแต่ละบุคคลรวมทั้งสิ้นจำนวน 20 คน โดยการทดสอบความอ่อนตัวด้วยเครื่องมือ (Sit and Reach Box) ก่อนและหลังการฝึกเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่าก่อนการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ค่าความอ่อนตัว เท่ากับ ค่าเฉลี่ย 8.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.74 (เซนติเมตร) จากผลจากทดสอบผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้การยืดเหยียดกล้ามเนื้อกายบริหารคลายเครียด พบว่าหลังการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 8 สัปดาห์ ค่าความอ่อนตัว เท่ากับ ค่าเฉลี่ย 11.90 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.77 (เซนติเมตร) มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ P < 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมพลศึกษา. (2556). กายบริหารคลายเครียด. ออนไลน์. สืบค้น 25 มีนาคม 2566, จาก https://www. dpe.go.th/manual-files-392891791902

กรมพลศึกษา. (2558). วิทยาศาสตร์การกีฬากับการประยุกต์ใช้ในชุมชน. ออนไลน์. สืบค้น 31 มีนาคม 2566, จาก https://www.dpe.go.th/manual-files-392891791884

กรมพลศึกษา. (2562). แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี. ออนไลน์. สืบค้น 18 มีนาคม 2566, จาก https://www.dpe.go.th/manual-files-411291791796

เกรียงไกร อินทรชัย. (2547). ผลของการฝึกความอ่อนตัว และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่มีต่อระยะทางในการทุ่มลูกฟุตบอล. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จตุรงค์ เหมรา. (2561). หลักการและการปฏิบัติ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เจริญ กระบวนรัตน์. (2560). การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.

เจริญ กระบวนรัตน์. (2557). วิทยาศาสตร์การฝึกสอนกีฬา. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สินธนาก๊อปปี้เซ็นเตอร์ จำกัด.

นิวัฒน์ บุญสม. (2560). การพัฒนาความอ่อนตัวด้วยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ. วารสาร Veridian E-Journal สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปกร, 10 (2), 2173-2184.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2566) สานพลังกลุ่มโรค NCDs อายุยืน ลดสูญเสียลดป่วยพิการ ก่อนวัยอันควร. สืบค้น 5 เมษายน 2566, จาก https://www.thaihealth.or.th/

Department of Physical Education. (2013). Exercise to relieve stress. Retrieved March 25, 2023, from https://www.dpe.go.th/manual-files-392891791902

Department of Physical Education. (2015)Sports science and its application in the community. Retrieved March 31, 2023, from https://www.dpe.go.th/manual-files-392891791884

Department of Physical Education. (2019) Physical fitness test and benchmarks for people aged 19 - 59 years old. Retrieved March 18, 2023, from https://www.dpe.go.th/manual-files-411291791796

Intrachai, K. (2004). Effects of flexibility training and the strength of the muscles that affect the distance of throwing the ball. (Master thesis). Bangkok: Kasetsart University.

Hemara J. (2018). Principles and practices. Physical fitness test. (1st edition). Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Krabuanrat, J. (2017). stretching exercise. Bangkok : Kasetsart University. (In Thai)

Krabuanrat, C. (2014). Sports coaching science. Bangkok : Sinthana Copy Center Company Limited. (In Thai)

Boonsom, N. (2017). Flexibility Development by Stretching. Veridian E-Journal Silpakorn University, 10(2), 2173-2184. (In Thai)

Office of the Health Promotion Foundation. (2023) Unite the Power of NCDs Longevity, Reduce loss, Reduce sickness, Premature Disability. Retrieved April 5, 2023, from https://www.thaihealth.or.th